ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถุงยางอนามัย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มอ้างอิง
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
แปลส่วนนำใหม่จากอังกฤษ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{Infobox Birth control
[[ไฟล์:Condom rolled.jpg|thumb|right|ถุงยางอนามัยชายขณะยังไม่ได้ใช้]]
|image = Kondom.jpg
|width = 200
|caption = ถุงยางอนามัยชายขณะยังไม่ได้ใช้
|pronounce = {{IPAc-en|ˈ|k|ɒ|n|d|əm}} หรือ {{IPAc-en|uk|ˈ|k|ɒ|n|d|ɒ|m}}
|bc_type = สิ่งกีดขวาง
|date_first_use = สมัยโบราณ<ref name=Hat2007/><br />ยาง: ค.ศ. 1855<ref name=Al2011/><br />ยางพารา: คริสต์ทศวรรษ 1920<ref name=Mc2000/><br />โพลียูรีเทน: ค.ศ. 1994<br />Polyisoprene: 2008
|rate_type = อัตรา[[การตั้งครรภ์]]
|failure_measure = ปีแรก, ยางพารา
|perfect_failure% = 2
|perfect_failure_ref =<ref name="Trussell 2011">{{cite book|last=Trussell|first=James|year=2011|chapter=Contraceptive efficacy|editor1-last=Hatcher|editor1-first=Robert A.|editor2-last=Trussell|editor2-first=James|editor3-last=Nelson|editor3-first=Anita L.|editor4-last=Cates|editor4-first=Willard Jr.|editor5-last=Kowal|editor5-first=Deborah|editor6-last=Policar|editor6-first=Michael S. (eds.)|title=Contraceptive technology|edition=20th revised|location=New York|publisher=Ardent Media|isbn=978-1-59708-004-0|issn=0091-9721|oclc=781956734|pages=779–863|url=http://www.contraceptivetechnology.org/wp-content/uploads/2013/09/CTFailureTable.pdf|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20131112130150/http://www.contraceptivetechnology.org/wp-content/uploads/2013/09/CTFailureTable.pdf|archivedate=2013-11-12|df=}}</ref>
|typical_failure% = 18
|typical_failure_ref =<ref name="Trussell 2011" />
|duration_effect =
|reversibility =
|user_reminders = สารหล่อลื่นประเภทน้ำมันทำลายถุงยางอนามัยที่ทำจากยางพารา<ref name=Hat2007/>
|clinic_interval =
|STD_protection_YesNo = ป้องกัน<ref name=Hat2007/>
|periods =
|benefits = ไม่ต้องพบแพทย์<ref name=Hat2007/>
|weight_gain_loss =
|risks =
|medical_notes =
}}
<!-- Definition and medical uses -->
'''ถุงยางอนามัย''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: condom) เป็นอุปกรณ์ประเภทสิ่งกีดขวางที่ใช้ระหว่าง[[การร่วมเพศ|ร่วมเพศ]]เพื่อลดโอกาส[[การตั้งครรภ์]]หรือการติด[[โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์]]<ref name=Hat2007>{{cite book|last1=Hatcher|first1=Robert Anthony|last2=M.D|first2=Anita L. Nelson|title=Contraceptive Technology|date=2007|publisher=Ardent Media|isbn=9781597080019|pages=297–311|url=https://books.google.com/books?id=txh0LpjjhkoC&pg=PA297|language=en|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170918185600/https://books.google.com/books?id=txh0LpjjhkoC&pg=PA297|archivedate=2017-09-18|df=}}</ref> มีทั้งสำหรับ[[ถุงยางอนามัยสตรี|เพศหญิง]]และเพศชาย<ref name=WHO2008>{{cite book|title=WHO Model Formulary 2008|date=2009|publisher=World Health Organization|isbn=9789241547659|page=372|url=http://apps.who.int/medicinedocs/documents/s16879e/s16879e.pdf|accessdate=8 January 2017|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20161213060118/http://apps.who.int/medicinedocs/documents/s16879e/s16879e.pdf|archivedate=13 December 2016|df=}}</ref> เมื่อใช้อย่างถูกต้องทุกครั้งที่ร่วมเพศ ผู้หญิงที่คู่นอนใช้ถุงยางอนามัยชายมีอัตราการตั้งครรภ์อยู่ที่ 2% ต่อปี<ref name=Hat2007/> โดยมีอัตราการตั้งครรภ์เมื่อใช้แบบทั่วไปอยู่ที่ 18% ต่อปี<ref name=Sum2007>{{cite news| last=Trussell| first=J| title=Contraceptive efficacy| publisher=Ardent Media| year=2007| accessdate=2011-03-13| url=http://www.contraceptivetechnology.org/wp-content/uploads/2013/09/CTFailureTable.pdf| deadurl=no| archiveurl=https://web.archive.org/web/20131112130150/http://www.contraceptivetechnology.org/wp-content/uploads/2013/09/CTFailureTable.pdf| archivedate=2013-11-12| df=}}</ref> การใช้ถุงยางอนามัยลดโอกาสการติดโรค[[หนองในแท้]], [[หนองในเทียม|โรคหนองในเทียม]], เชื้อทริโคโมแนส, เชื้อไวรัส[[ตับอักเสบ บี]], [[เอดส์|โรคเอดส์]] และ[[ซิฟิลิส]]


<!-- Technique -->ถุงยางอนามัยชายควรใส่ขณะองคชาตแข็งตัวก่อนการร่วมเพศ โดยใช้เพื่อป้องกันไม่ให้[[น้ำอสุจิ]]เข้าไปในร่างกายของคู่นอน<ref name=Sp2011/><ref name=Hat2007/> ถุงยางอนามัยชายมักทำจากยางพารา หรืออาจทำจาก[[โพลียูรีเทน]]หรือลำไส้แกะ<ref name=Hat2007/> ถุงยางอนามัยชายมีข้อดีตรงที่ใช้ง่าย พกพาสะดวก และมีผลข้างเคียงน้อย<ref name=Hat2007/> สำหรับผู้แพ้ยางพารา ควรใช้แบบที่ผลิตจากโพลียูเทนหรือวัสดุสังเคราห์อื่นแทน<ref name=Hat2007/> [[ถุงยางอนามัยสตรี]]มักทำจากโพลียูรีเทนและสามารถใช้ซ้ำได้หลายครั้ง<ref name=Sp2011>{{cite book|last1=Speroff|first1=Leon|last2=Darney|first2=Philip D.|title=A Clinical Guide for Contraception|date=2011|publisher=Lippincott Williams & Wilkins|isbn=9781608316106|pages=305–307|url=https://books.google.com/books?id=f5XJtYkiJ0YC&pg=PT420|language=en|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20161114203840/https://books.google.com/books?id=f5XJtYkiJ0YC|archivedate=2016-11-14|df=}}</ref><!-- History and culture -->
'''ถุงยางอนามัย''' ({{lang-en|condom}}) เป็นอุปกรณ์[[การคุมกำเนิด|คุมกำเนิด]] ที่นิยมใช้กันมากที่สุดในขณะร่วมเพศ ทำด้วยวัสดุจาก[[ยางพารา]] หรือ[[โพลียูรีเทน]] โดยมีทั้งแบบสำหรับผู้ชายและผู้หญิง ส่วนใหญ่ฝ่ายชายจะเป็นฝ่ายใช้โดยใช้ สวมครอบ[[อวัยวะเพศชาย]]ที่กำลังแข็งตัวในขณะ[[ร่วมเพศ]] โดยเมื่อฝ่ายชายหลั่ง[[น้ำอสุจิ]]แล้ว น้ำอสุจิจะถูกเก็บไว้ในถุงยางอนามัย ช่วยป้องกัน[[การตั้งครรภ์]] และยังช่วยป้องกัน[[โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์]]เช่น [[ซิฟิลิส]] [[หนองใน]] และ [[เอดส์]]ได้ด้วย


การใช้ถุงยางอนามัยเพื่อป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ถูกใช้มาอย่างน้อยตั้งแต่ ค.ศ. 1564<ref name=Hat2007/> ถุงยางอนามัยที่ทำจากยางมีตั้งแต่ ค.ศ. 1855 ตามมาด้วยที่ทำจากยางพาราในคริสต์ทศวรรษ 1920<ref name=Al2011>{{cite book|last1=Allen|first1=Michael J.|title=The Anthem Anthology of Victorian Sonnets|date=2011|publisher=Anthem Press|isbn=9781843318484|page=51|url=https://books.google.com/books?id=GQxdE8Ryz9YC&pg=PR51|language=en}}</ref><ref name=Mc2000>{{cite book|last1=McKibbin|first1=Ross|title=Classes and Cultures: England 1918-1951|date=2000|publisher=Oxford University Press|isbn=9780198208556|page=305|url=https://books.google.com/books?id=xYuoPxzjnXUC&pg=PA305|language=en}}</ref> ถุงยางอนามัยถูกจัดอยู่ใน[[ยาหลักขององค์การอนามัยโลก]]ซึ่งรวมยาที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัยและเป็นที่ต้องการในระบบสุขภาพ<ref name=WHO19th>{{cite web|title=WHO Model List of Essential Medicines (19th List)|url=http://www.who.int/medicines/publications/essentialmedicines/EML_2015_FINAL_amended_NOV2015.pdf?ua=1|work=World Health Organization|accessdate=8 December 2016|date=April 2015|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20161213052708/http://www.who.int/medicines/publications/essentialmedicines/EML_2015_FINAL_amended_NOV2015.pdf?ua=1|archivedate=13 December 2016|df=}}</ref> ทั่วโลกน้อยกว่า 10% ใช้ถุงยางอนามัยเพื่อคุมกำเนิด<ref name=Ch2012/> อัตราการใช้ถุงยางอนามัยใน[[ประเทศพัฒนาแล้ว]]สูงกว่าที่อื่น<ref name=Ch2012>{{cite book|last1=Chen|first1=Lincoln C.|last2=Amor|first2=Jaime Sepulveda|last3=Segal|first3=Sheldon J.|title=AIDS and Women’s Reproductive Health|date=2012|publisher=Springer Science & Business Media|isbn=9781461533542|page=6|url=https://books.google.com/books?id=8KWvBQAAQBAJ&pg=PA6|language=en}}</ref> ในสหราชอาณาจักร ถุงยางอนามัยเป็นวิธีคุมกำเนิดที่ได้รับความนิยมเป็นอันดับสอง (22%) และเป็นที่นิยมอันดับสามในสหรัฐอเมริกา (15%) <ref>{{cite book|last1=Herring|first1=Jonathan|title=Medical Law and Ethics|date=2014|publisher=Oxford University Press|isbn=9780198702269|page=271|url=https://books.google.com/books?id=N9JFAwAAQBAJ&pg=PA271|language=en}}</ref><ref>{{cite journal|last1=Daniels|first1=K|last2=Daugherty|first2=J|last3=Jones|first3=J|last4=Mosher|first4=W|title=Current Contraceptive Use and Variation by Selected Characteristics Among Women Aged 15-44: United States, 2011-2013.|journal=National health statistics reports|date=10 November 2015|issue=86|pages=1–14|pmid=26556545}}</ref> ถุงยางอนามัยจำนวนประมาณ 6 ถึง 9 พันล้านชิ้นถูกขายในแต่ละปี<ref>{{cite book|last1=Hermann|first1=Henry R.|title=Dominance and Aggression in Humans and Other Animals: The Great Game of Life|date=2016|publisher=Academic Press|isbn=9780128092958|url=https://books.google.com/books?id=6sGpDAAAQBAJ&pg=PT529|language=en}}</ref>
ถุงยางอนามัยถูกนำมาใช้งานในรูปแบบอื่นๆมากมายเพราะคุณสมบัติที่ทนทาน กันน้ำ และยืดหยุ่นได้ดี โดยนำมาใช้ผลิตไมโครโฟนกันน้ำ เรื่อยไปจนใช้กันปืนไรเฟิลติดขัด
{{TOC limit|3}}


ถุงยางอนามัยสมัยใหม่ส่วนมากผลิตจากยางพารา แต่ก็มีบ้างที่ผลิตจากวัสดุอื่น เช่น โพลียูรีเทน หรือลำไส้ของลูกแกะ ถุงยางอนามัยสำหรับสตรีมักจะผลิตจากโพลียูรีเทน ถุงยางอนามัยสำหรับชายเป็นอุปกรณ์คุมกำเนิดที่ราคาไม่แพง ใช้งานง่าย ผลข้างเคียงน้อย และใช้ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้ ถ้าใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกต้องและใช้ทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์จะทำให้มีโอกาสตั้งครรภ์ได้เพียง 2% ต่อปี

มีหลักฐานการใช้ถุงยางอนามัยครั้งแรกสุดในประวัติศาาสตร์ อย่างน้อยเมื่อ 400 ปีที่แล้ว การใช้ถุงยางอนามัยเป็นวิธีการคุมกำเนิดที่ได้รับความนิยมสูงสุดตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 แต่ในขณะเดียวกันก็ยังมีอีกแง่มุมหนึ่งที่เป็นปัญหา เช่น การทิ้งถุงยางอนามัยอย่างไม่เหมาะสมทำให้เกิดปัญหาจากขยะและศาสนจักร[[โรมันคาทอลิก]]ก็ต่อต้านการใช้ถุงยางอนามัยด้วย


== ประวัติศาสตร์ ==
== ประวัติศาสตร์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:10, 14 กุมภาพันธ์ 2561

ถุงยางอนามัย
ถุงยางอนามัยชายขณะยังไม่ได้ใช้
ความรู้พื้นฐาน
ประเภทการคุมกำเนิดสิ่งกีดขวาง
เริ่มใช้ครั้งแรกสมัยโบราณ[1]
ยาง: ค.ศ. 1855[2]
ยางพารา: คริสต์ทศวรรษ 1920[3]
โพลียูรีเทน: ค.ศ. 1994
Polyisoprene: 2008
อัตราการตั้งครรภ์ (ปีแรก, ยางพารา)
เมื่อใช้อย่างถูกต้อง2%
เมื่อใช้แบบทั่วไป18%
การใช้
สิ่งที่ผู้ใช้ควรรู้สารหล่อลื่นประเภทน้ำมันทำลายถุงยางอนามัยที่ทำจากยางพารา[1]
ข้อดีข้อเสีย
ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ป้องกัน[1]
ข้อดีไม่ต้องพบแพทย์[1]

ถุงยางอนามัย (อังกฤษ: condom) เป็นอุปกรณ์ประเภทสิ่งกีดขวางที่ใช้ระหว่างร่วมเพศเพื่อลดโอกาสการตั้งครรภ์หรือการติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์[1] มีทั้งสำหรับเพศหญิงและเพศชาย[4] เมื่อใช้อย่างถูกต้องทุกครั้งที่ร่วมเพศ ผู้หญิงที่คู่นอนใช้ถุงยางอนามัยชายมีอัตราการตั้งครรภ์อยู่ที่ 2% ต่อปี[1] โดยมีอัตราการตั้งครรภ์เมื่อใช้แบบทั่วไปอยู่ที่ 18% ต่อปี[5] การใช้ถุงยางอนามัยลดโอกาสการติดโรคหนองในแท้, โรคหนองในเทียม, เชื้อทริโคโมแนส, เชื้อไวรัสตับอักเสบ บี, โรคเอดส์ และซิฟิลิส

ถุงยางอนามัยชายควรใส่ขณะองคชาตแข็งตัวก่อนการร่วมเพศ โดยใช้เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำอสุจิเข้าไปในร่างกายของคู่นอน[6][1] ถุงยางอนามัยชายมักทำจากยางพารา หรืออาจทำจากโพลียูรีเทนหรือลำไส้แกะ[1] ถุงยางอนามัยชายมีข้อดีตรงที่ใช้ง่าย พกพาสะดวก และมีผลข้างเคียงน้อย[1] สำหรับผู้แพ้ยางพารา ควรใช้แบบที่ผลิตจากโพลียูเทนหรือวัสดุสังเคราห์อื่นแทน[1] ถุงยางอนามัยสตรีมักทำจากโพลียูรีเทนและสามารถใช้ซ้ำได้หลายครั้ง[6]

การใช้ถุงยางอนามัยเพื่อป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ถูกใช้มาอย่างน้อยตั้งแต่ ค.ศ. 1564[1] ถุงยางอนามัยที่ทำจากยางมีตั้งแต่ ค.ศ. 1855 ตามมาด้วยที่ทำจากยางพาราในคริสต์ทศวรรษ 1920[2][3] ถุงยางอนามัยถูกจัดอยู่ในยาหลักขององค์การอนามัยโลกซึ่งรวมยาที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัยและเป็นที่ต้องการในระบบสุขภาพ[7] ทั่วโลกน้อยกว่า 10% ใช้ถุงยางอนามัยเพื่อคุมกำเนิด[8] อัตราการใช้ถุงยางอนามัยในประเทศพัฒนาแล้วสูงกว่าที่อื่น[8] ในสหราชอาณาจักร ถุงยางอนามัยเป็นวิธีคุมกำเนิดที่ได้รับความนิยมเป็นอันดับสอง (22%) และเป็นที่นิยมอันดับสามในสหรัฐอเมริกา (15%) [9][10] ถุงยางอนามัยจำนวนประมาณ 6 ถึง 9 พันล้านชิ้นถูกขายในแต่ละปี[11]


ประวัติศาสตร์

พุทธศักราช2494

เป็นที่ถกเถียงกันในหมู่นักโบราณคดีและนักประวัติศาสตร์ว่ามีการใช้ถุงยางอนามัยมาตั้งแต่สมัยอารยธรรมโบราณหรือไม่ ในอาณาจักรอียิปต์ กรีกและโรมันโบราณ การป้องกันการตั้งครรภ์เป็นภาระหน้าที่ของเพศหญิง และวิธีการคุมกำเนิดที่มีเอกสารยืนยันก็คืออุปกรณ์ที่ใช้กับสตรี ในเอเชียช่วงก่อนศตวรรษที่ 15 มีการบันทึกถึงการใช้ถุงยางอนามัยชนิดสวมครอบเฉพาะส่วนหัวขององคชาต ถุงยางอนามัยในฐานะที่ใช้เป็นอุปกรณ์เพื่อการคุมกำเนิดเป็นที่รู้จักกันเฉพาะในหมู่ชนชั้นสูง ในประเทศจีน ถุงยางอนามัยผลิตจากไหม กระดาษ หรือลำไส้ลูกแกะ ส่วนในญี่ปุ่นจะผลิตจากกระดองเต่า

การรณรงค์เรื่องถุงยางอนามัยในปัจจุบัน

เครื่องวัดขนาดอวัยวะเพศชายเพื่อนำผลวัดไปเลือกใช้ถุงยางอนามัยให้เหมาะสมกับขนาด

ปัจจุบันนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างสำนักงานโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้ร่วมกันรณรงค์การใช้ถุงยางอนามัยอย่างมากและได้ทำการออกแบบเครื่องมือวัดขนาดอวัยวะเพศชาย เพื่อประโยชน์ในการที่ชายไทยจะได้วัดขนาดอวัยวะเพศของตนเองและเลือกซื้อถุงยางอนามัยได้ตรงขนาดกับอวัยวะเพศของตัวเอง อีกทั้งยังได้จัดทำโพลสำรวจเกี่ยวกับขนาดอวัยวะเพศของชายไทยด้วย เนื่องจากพบว่ามีชายไทยหลายกลุ่มอายุที่ไม่มีถุงยางอนามัยขนาดที่พอเหมาะกับอวัยวะเพศใช้งานกัน การทำโพลสำรวจในครั้งนี้จะนำพาไปถึงอนาคตที่จะผลิตถุงยางอนามัยขนาดต่างๆให้เหมาะสมกับขนาดของผู้ใช้อย่างทั่วถึง

ถุงยางอนามัยในรูปแบบอื่น

อ้างอิง

  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 Hatcher, Robert Anthony; M.D, Anita L. Nelson (2007). Contraceptive Technology (ภาษาอังกฤษ). Ardent Media. pp. 297–311. ISBN 9781597080019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-18. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  2. 2.0 2.1 Allen, Michael J. (2011). The Anthem Anthology of Victorian Sonnets (ภาษาอังกฤษ). Anthem Press. p. 51. ISBN 9781843318484.
  3. 3.0 3.1 McKibbin, Ross (2000). Classes and Cultures: England 1918-1951 (ภาษาอังกฤษ). Oxford University Press. p. 305. ISBN 9780198208556.
  4. WHO Model Formulary 2008 (PDF). World Health Organization. 2009. p. 372. ISBN 9789241547659. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 13 December 2016. สืบค้นเมื่อ 8 January 2017. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  5. Trussell, J (2007). "Contraceptive efficacy" (PDF). Ardent Media. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-11-12. สืบค้นเมื่อ 2011-03-13. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  6. 6.0 6.1 Speroff, Leon; Darney, Philip D. (2011). A Clinical Guide for Contraception (ภาษาอังกฤษ). Lippincott Williams & Wilkins. pp. 305–307. ISBN 9781608316106. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-11-14. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  7. "WHO Model List of Essential Medicines (19th List)" (PDF). World Health Organization. April 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 13 December 2016. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  8. 8.0 8.1 Chen, Lincoln C.; Amor, Jaime Sepulveda; Segal, Sheldon J. (2012). AIDS and Women’s Reproductive Health (ภาษาอังกฤษ). Springer Science & Business Media. p. 6. ISBN 9781461533542.
  9. Herring, Jonathan (2014). Medical Law and Ethics (ภาษาอังกฤษ). Oxford University Press. p. 271. ISBN 9780198702269.
  10. Daniels, K; Daugherty, J; Jones, J; Mosher, W (10 November 2015). "Current Contraceptive Use and Variation by Selected Characteristics Among Women Aged 15-44: United States, 2011-2013". National health statistics reports (86): 1–14. PMID 26556545.
  11. Hermann, Henry R. (2016). Dominance and Aggression in Humans and Other Animals: The Great Game of Life (ภาษาอังกฤษ). Academic Press. ISBN 9780128092958.
  12. "Dental Dam Use". Center for Disease Control and Prevention. สืบค้นเมื่อ 30-01-2018. {{cite web}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |dead-url= (help); ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)