ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งูเหลือม (สกุล)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Taxobox
| name =
| image = Ball python lucy.JPG
| image_caption = [[งูหลามบอล]] (''P. regius'') งูชนิดหนึ่งในสกุลนี้ที่พบได้ใน[[ทวีปแอฟริกา]]
| regnum = [[Animalia]]
| phylum = [[Chordata]]
| subphylum = [[Vertebrata]]
| classis = [[Reptilia]]
| ordo = [[Squamata]]
| subordo = [[Serpentes]]
| familia = [[Pythonidae]]
| genus = '''''Python'''''
| genus_authority = [[François Marie Daudin|Daudin]], [[ค.ศ. 1803|1803]]
| synonyms = {{hidden begin|title=ชื่อพ้อง}}
* ''Python'' <small>[[Daudin]], 1803</small>
* ''Constrictor'' <small>[[Wagler]], 1830</small>
* ''Enygrus'' <small>[[Wagler]], 1830</small>
* ''Engyrus'' <small>[[John Edward Gray|Gray]], 1831</small>
* ''Enygris'' <small>[[John Edward Gray|Gray]], 1842</small>
* ''Heleionomus'' <small>[[John Edward Gray|Gray]], 1842</small>
* ''Morelia'' <small>[[John Edward Gray|Gray]], 1842</small>
* ''Hortulia'' <small>[[John Edward Gray|Gray]], 1842</small>
* ''Asterophis'' <small>[[Fitzinger]], 1843</small>
* ''Liasis'' <small>[[André Marie Constant Duméril|Duméril]] & [[Bibron]], 1844</small>
* ''Simalia'' <small>[[John Edward Gray|Gray]], 1849</small>
* ''Aspidopython'' <small>Meyer, 1874</small>
* ''Aspidoboa'' <small>Sauvage, 1884</small>
* ''Hypapistes'' <small>[[James Douglas Ogilby|Ogilby]], 1891</small><ref name="McD99">McDiarmid RW, Campbell JA, Touré T. 1999. Snake Species of the World: A Taxonomic and Geographic Reference, vol. 1. Herpetologists' League. 511 pp. ISBN 1-893777-00-6 (series). ISBN 1-893777-01-4 (volume).</ref>
{{hidden end}}
| subdivision = *''[[Python molurus|P. molurus]]''
*''[[Python sebae|P. sebae]]''
*''[[Python regius|P. regius]]''
*''[[Python bivittatus|P. bivittatus]]''
*''[[Python curtus|P. curtus]]''
*''[[Python breitensteini|P. breitensteini]]''
*''[[Python anchietae|P. anchietae]]''
*''[[Python brongersmai|P. brongersmai]]''
*''[[Python kyaiktiyo|P. kyaiktiyo]]''
*''[[Python europaeus|P. europaeus]]'' †
| subdivision_ranks = [[สปีชีส์|ชนิด]]

}}
{{ความหมายอื่น||ความหมายอื่น|Python}}
{{ความหมายอื่น||ความหมายอื่น|Python}}
{{Automatic taxobox
'''งูเหลือม''' หรือ '''งูหลาม''' เป็น[[genus|สกุล]]ของ[[งูไม่มีพิษ]]ใน[[วงศ์งูเหลือม]] (Pythonidae) ใช้ชื่อสกุลว่า ''Python'' (/ไพ-ธอน/)
| name = ''งูเหลือม''
| fossil_range = {{fossil range|Miocene|Present}}
| image = Python bivittatus тигровый питон.jpg
| image_caption = [[งูหลาม]] (''Python bivittatus'')
| taxon = Python
| authority = [[François Marie Daudin|Daudin]], 1803
| type_species = ''[[Python molurus]]''{{citation needed|date=May 2022}}
| type_species_authority = [[Linnaeus]], 1758
| subdivision_ranks = ชนิด
| subdivision =
| synonyms = {{Collapsible list|framestyle=border:none; padding:0;
|1=''Python'' <small>[[Daudin]], 1803</small>
|2=''Constrictor'' <small>[[Johann Georg Wagler|Wagler]], 1830</small>
|3=''Enygrus'' <small>[[Johann Georg Wagler|Wagler]], 1830</small>
|4=''Engyrus'' <small>[[John Edward Gray|Gray]], 1831</small>
|5=''Enygris'' <small>[[John Edward Gray|Gray]], 1842</small>
|6=''Heleionomus'' <small>[[John Edward Gray|Gray]], 1842</small>
|7=''Morelia'' <small>[[John Edward Gray|Gray]], 1842</small>
|8=''Hortulia'' <small>[[John Edward Gray|Gray]], 1842</small>
|9=''Asterophis'' <small>[[Fitzinger]], 1843</small>
|10=''Liasis'' <small>[[André Marie Constant Duméril|Duméril]] & [[Bibron]], 1844</small>
|11=''Simalia'' <small>[[John Edward Gray|Gray]], 1849</small>
|12=''Aspidopython'' <small>Meyer, 1874</small>
|13=''Aspidoboa'' <small>Sauvage, 1884</small>
|14=''Hypaspistes'' <small>[[James Douglas Ogilby|Ogilby]], 1891</small>}}
}}
'''งูเหลือม''' หรือ '''งูหลาม''' เป็น[[genus|สกุล]]ของ[[งูไม่มีพิษ]]ใน[[วงศ์งูเหลือม]] (Pythonidae) ใช้ชื่อสกุลว่า ''Python'' (/ไพ-ธอน/) อาศัยอยู่ใน[[เขตร้อน]]และบริเวณกึ่งเขตร้อนใน[[ซีกโลกตะวันออก]]<ref name="McD99">{{cite book |last1=McDiarmid |first1=R. W. |last2=Campbell |first2=J. A. |last3=Touré |first3=T. |year=1999 |title=Snake Species of the World: A Taxonomic and Geographic Reference. Volume 1 |location=Washington, DC |publisher=Herpetologists' League |isbn=1893777014 |chapter=''Python'' }}</ref>


ชื่อ ''python'' ได้รับการเสนอโดย [[François Marie Daudin]] ใน ค.ศ. 1803 ใช้เรียกงูเหลือมไม่มีพิษ<ref name=Daudin>{{cite book |last1=Daudin |first1=F. M. |year=1803 |title=Histoire naturelle, générale et particulière, des reptiles. Tome 8 |location=Paris |publisher=De l'Imprimerie de F. Dufart |page=384 |chapter=''Python'' |chapter-url=https://archive.org/details/histoirenaturel181802daud/page/384}}</ref>
มีทั้งหมด 10 [[species|ชนิด]] (ดูในตาราง)<ref> {{aut|Schleip, W.D.}}; {{aut|O'Shea, M.}} 2010: Annotated checklist of the recent and extinct pythons (Serpentes, Pythonidae), with notes on nomenclature, taxonomy, and distribution. [http://www.zookeys.org ''ZooKeys'',] '''66''': 29-79. ISSN: 1313-2970 (online) ISSN: 1313-2989 (print) {{doi|10.3897/zookeys.66.683}}</ref>
ปัจจุบันมีงูเหลือมชนิดที่ได้รับการยอมรับเป็น[[taxa|ลำดับขั้น]][[Valid name (zoology)|ที่ถูกต้อง]] 10 ชนิด<ref>{{cite journal |last1=Barker |first1=D. G. |last2=Barker |first2=T. M. |last3=Davis |first3=M. A. |last4=Schuett |first4=G. W. |year=2015 |title=A review of the systematics and taxonomy of Pythonidae: an ancient serpent lineage |journal=Zoological Journal of the Linnean Society |volume=175 |issue=1 |pages=1−19 |doi=10.1111/zoj.12267 |url=https://www.researchgate.net/publication/274892692|doi-access=free }}</ref>
<ref>{{aut|Zug, G.R.}}, {{aut|Gotte, S.W.}}, & {{aut|Jacobs, J.F.}} 2011: Pythons in Burma: short-tailed python (Reptilia: Squamata). [[ISSN 0006-324X|''Proceedings of the Biological Society of Washington'']], ''124'' (2): 112-136. {{doi|10.2988/10-34.1}}</ref>แพร่กระจายพันธุ์ทั้งแต่[[ทวีปแอฟริกา]], [[เอเชีย]] และ[[ออสเตรเลีย]] ในแอฟริกาพบได้ตั้งแต่ใต้[[ทะเลทรายซาฮารา]]ลงไป จนถึง[[แอฟริกาใต้ (ภูมิภาค)|แอฟริกาตอนใต้]] และพบใน[[เกาะมาดากัสการ์]] ในเอเชีย พบได้ตั้งแต่[[อนุทวีปอินเดีย]], [[เอเชียอาคเนย์]]ทั้งที่เป็นแผ่นดินใหญ่และ[[หมู่เกาะ]]กลาง[[ทะเล]] และบางส่วนใน[[เอเชียตะวันออก]] เช่น ภาคใต้ของ[[จีน]], [[ฮ่องกง]] และ[[เกาะไหหลำ]]


== อนุกรมวิธาน ==
เป็นงูที่ใช้พละกำลังจากกล้ามเนื้อที่ลำตัวรัดเหยื่อจนกระดูกหักและขาดใจตาย ก่อนจะกลืนกินเข้าไปทั้งตัว ในบางครั้งที่เหยื่อมีขนาดใหญ่อาจใช้เวลาหลาย[[ชั่วโมง]] โดยเหยื่อที่กินส่วนมากจะเป็น[[สัตว์เลือดอุ่น]] ทั้ง[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]หรือ[[สัตว์ปีก]] แพร่ขยายพันธุ์ด้วยการวาง[[ไข่]] หาเหยื่อได้ทั้งบนดิน, [[ต้นไม้]] และใน[[น้ำ]] ซึ่งแตกต่างออกไปตามชนิด


==จำนวนและที่อยู่อาศัย==
แพร่กระจายพันธุ์ทั้งแต่[[ทวีปแอฟริกา]], [[เอเชีย]] และ[[ออสเตรเลีย]] ในแอฟริกาพบได้ตั้งแต่ใต้[[ทะเลทรายซาฮารา]]ลงไป จนถึง[[แอฟริกาใต้ (ภูมิภาค)|แอฟริกาตอนใต้]] และพบใน[[เกาะมาดากัสการ์]] ในเอเชีย พบได้ตั้งแต่[[อนุทวีปอินเดีย]], [[เอเชียอาคเนย์]]ทั้งที่เป็นแผ่นดินใหญ่และ[[หมู่เกาะ]]กลาง[[ทะเล]] และบางส่วนใน[[เอเชียตะวันออก]] เช่น ภาคใต้ของ[[จีน]], [[ฮ่องกง]] และ[[เกาะไหหลำ]]

== ศัพทมูลวิทยา ==
โดยคำว่า ''Python'' นั้น มาจาก[[ภาษากรีก]] คือคำว่า "πύθων/πύθωνας" มีที่มาจาก[[เทพปกรณัมกรีก]] เมื่อมหาเทพ[[ซูส]]ได้มีจิตปฏิพัทธ์ต่อ นาง[[เลโต]] ทำให้ เทพี[[ฮีรา]] มเหสีเอกเกิดความหึงหวงจึงกลั่นแกล้งด้วยการส่ง งูเหลือมที่เลี้ยงไว้ไปตามรังควาน นางจึงต้องอุ้มครรภ์หนีซอกซอนไปจนถึงเกาะดีลอส [[โปเซดอน]]มีความสงสารบันดาลให้เกาะผุดขึ้นในทะเล เพื่อให้นางได้ประสูติ เทพ[[อพอลโล]] กับ เทพี[[อาร์เทอมีส|อาร์เตมิส]] บนเกาะนั้น ทันทีที่ประสูติจากครรภ์มารดา เทพอพอลโล ก็จับงูเหลือมฆ่าทิ้งเสีย จึงได้รับการขนานนามว่า ''ไพธูส (Pytheus)'' ซึ่งแปลว่า “ผู้สังหารงูเหลือม”<ref name="McD99"/> <ref>[http://www.richeast.org/htwm/Greeks/pythia/PYTHIA.html Pythias--Priestesses of Apollo {{en}}]</ref>
โดยคำว่า ''Python'' นั้น มาจาก[[ภาษากรีก]] คือคำว่า "πύθων/πύθωνας" มีที่มาจาก[[เทพปกรณัมกรีก]] เมื่อมหาเทพ[[ซูส]]ได้มีจิตปฏิพัทธ์ต่อ นาง[[เลโต]] ทำให้ เทพี[[ฮีรา]] มเหสีเอกเกิดความหึงหวงจึงกลั่นแกล้งด้วยการส่ง งูเหลือมที่เลี้ยงไว้ไปตามรังควาน นางจึงต้องอุ้มครรภ์หนีซอกซอนไปจนถึงเกาะดีลอส [[โปเซดอน]]มีความสงสารบันดาลให้เกาะผุดขึ้นในทะเล เพื่อให้นางได้ประสูติ เทพ[[อพอลโล]] กับ เทพี[[อาร์เทอมีส|อาร์เตมิส]] บนเกาะนั้น ทันทีที่ประสูติจากครรภ์มารดา เทพอพอลโล ก็จับงูเหลือมฆ่าทิ้งเสีย จึงได้รับการขนานนามว่า ''ไพธูส (Pytheus)'' ซึ่งแปลว่า “ผู้สังหารงูเหลือม”<ref name="McD99"/> <ref>[http://www.richeast.org/htwm/Greeks/pythia/PYTHIA.html Pythias--Priestesses of Apollo {{en}}]</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง|30em}}

{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Python (genus)|''Python''}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{Wikispecies}}
{{wikispecies-inline|Python}}
{{Commons and category|Python (genus)}}
{{Americana Poster|Python (serpent)|Python (genus)}}
* {{NRDB genus|genus=Python|date=11 September|year=2007}}

[[หมวดหมู่:วงศ์งูเหลือม]]
[[หมวดหมู่:วงศ์งูเหลือม]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:19, 16 พฤศจิกายน 2566

งูเหลือม
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: Miocene–Present
งูหลาม (Python bivittatus)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอตา
อาณาจักร: สัตว์
ไฟลัม: สัตว์มีแกนสันหลัง
ชั้น: สัตว์เลื้อยคลาน
อันดับ: กิ้งก่าและงู
อันดับย่อย: Serpentes
วงศ์: วงศ์งูเหลือม
สกุล: Python
Daudin, 1803
ชนิดต้นแบบ
Python molurus[ต้องการอ้างอิง]
Linnaeus, 1758
ชื่อพ้อง
รายการ

งูเหลือม หรือ งูหลาม เป็นสกุลของงูไม่มีพิษในวงศ์งูเหลือม (Pythonidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Python (/ไพ-ธอน/) อาศัยอยู่ในเขตร้อนและบริเวณกึ่งเขตร้อนในซีกโลกตะวันออก[1]

ชื่อ python ได้รับการเสนอโดย François Marie Daudin ใน ค.ศ. 1803 ใช้เรียกงูเหลือมไม่มีพิษ[2] ปัจจุบันมีงูเหลือมชนิดที่ได้รับการยอมรับเป็นลำดับขั้นที่ถูกต้อง 10 ชนิด[3]

อนุกรมวิธาน

จำนวนและที่อยู่อาศัย

แพร่กระจายพันธุ์ทั้งแต่ทวีปแอฟริกา, เอเชีย และออสเตรเลีย ในแอฟริกาพบได้ตั้งแต่ใต้ทะเลทรายซาฮาราลงไป จนถึงแอฟริกาตอนใต้ และพบในเกาะมาดากัสการ์ ในเอเชีย พบได้ตั้งแต่อนุทวีปอินเดีย, เอเชียอาคเนย์ทั้งที่เป็นแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะกลางทะเล และบางส่วนในเอเชียตะวันออก เช่น ภาคใต้ของจีน, ฮ่องกง และเกาะไหหลำ

ศัพทมูลวิทยา

โดยคำว่า Python นั้น มาจากภาษากรีก คือคำว่า "πύθων/πύθωνας" มีที่มาจากเทพปกรณัมกรีก เมื่อมหาเทพซูสได้มีจิตปฏิพัทธ์ต่อ นางเลโต ทำให้ เทพีฮีรา มเหสีเอกเกิดความหึงหวงจึงกลั่นแกล้งด้วยการส่ง งูเหลือมที่เลี้ยงไว้ไปตามรังควาน นางจึงต้องอุ้มครรภ์หนีซอกซอนไปจนถึงเกาะดีลอส โปเซดอนมีความสงสารบันดาลให้เกาะผุดขึ้นในทะเล เพื่อให้นางได้ประสูติ เทพอพอลโล กับ เทพีอาร์เตมิส บนเกาะนั้น ทันทีที่ประสูติจากครรภ์มารดา เทพอพอลโล ก็จับงูเหลือมฆ่าทิ้งเสีย จึงได้รับการขนานนามว่า ไพธูส (Pytheus) ซึ่งแปลว่า “ผู้สังหารงูเหลือม”[1] [4]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 McDiarmid, R. W.; Campbell, J. A.; Touré, T. (1999). "Python". Snake Species of the World: A Taxonomic and Geographic Reference. Volume 1. Washington, DC: Herpetologists' League. ISBN 1893777014.
  2. Daudin, F. M. (1803). "Python". Histoire naturelle, générale et particulière, des reptiles. Tome 8. Paris: De l'Imprimerie de F. Dufart. p. 384.
  3. Barker, D. G.; Barker, T. M.; Davis, M. A.; Schuett, G. W. (2015). "A review of the systematics and taxonomy of Pythonidae: an ancient serpent lineage". Zoological Journal of the Linnean Society. 175 (1): 1−19. doi:10.1111/zoj.12267.
  4. Pythias--Priestesses of Apollo (อังกฤษ)

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Americana Poster