ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นกล่าเหยื่อ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MPF (คุย | ส่วนร่วม)
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Paraphyletic group
[[ไฟล์:Pandion haliaetus, Vancouver area.jpg|thumb|เหยี่ยว เป็นนกล่าเหยื่อประเภทหนึ่ง]]
| name = นกล่าเหยื่อ
'''นกล่าเหยื่อ''' ({{lang-en|Bird of prey, Raptor}}-มาจาก[[ภาษาละติน]]คำว่า ''rapere'' หมายถึง "บังคับด้วยกำลัง"<ref name="brown"/>) เป็น[[ชื่อสามัญ]]เรียกโดยรวมของ[[นก]]กลุ่มที่หากินในเวลา[[กลางวัน]] และกิน[[เนื้อสัตว์]]เป็นอาหาร รวมถึงอาจกิน[[ศพ|ซาก]]เป็นอาหารด้วย
| image = Birds of Prey Diversity.jpg
| image_caption = ภาพต่อของแรปเตอร์ที่ยังมีชีวิตอยู่ จากบนซ้ายไปขวา: [[นกเค้าอินทรียูเรเชีย]], [[king vulture]], [[เหยี่ยวเพเรกริน]], [[นกอินทรีทอง]] และ[[แร้งเครา]]
| auto = yes
| parent = Telluraves
| includes = *[[นกฮูก|Strigiformes]]
*[[Cathartiformes]]
*[[Accipitriformes]]
*[[Falconiformes]]
*[[Cariamiformes]]
| excludes = *[[Coraciimorphae]]
*[[Psittacopasserae]]
}}


'''นกล่าเหยื่อ''' ({{lang-en|Bird of prey หรือ predatory birds}}) มีอีกชื่อว่า '''แรปเตอร์''' ({{lang|en|raptors}}) เป็น[[สปีชีส์|ชนิด]]ของ[[นก]]ประเภท [[hypercarnivorous]] ที่[[การล่าเหยื่อ|ล่าและกิน]][[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]]ตัวอื่น (ส่วนใหญ่เป็น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]], [[สัตว์เลื้อยคลาน]] และนกขนาดเล็กตัวอื่น) นอกจากความเร็วและความแข็งแกร่งแล้ว นักล่าเหล่านี้ยังมี[[bird vision|สายตาแหลมคม]]ไว้หาเหยื่อจากระยะไกลหรือระหว่างบิน ขาที่แข็งแกร่งกับ[[talon (anatomy)|กรงเล็บ]]แหลมสำหรับจับหรือฆ่าเหยื่อ และ[[จะงอยปาก]]โค้งงอทรงพลังไว้ฉีกเนื้อ<ref name=Perrins>{{cite book|title=The Encyclopaedia of Birds|page=102|publisher=Guild Publishing|editor1-first=Christopher, M| editor1-last=Perrins| editor2-first=Alex, L. A.| editor2-last=Middleton|year=1984}}</ref><ref>{{cite journal |last1=Fowler |first1=Denver W. |last2=Freedman |first2=Elizabeth A. |last3=Scannella |first3=John B. |last4=Pizzari |first4=Tom |title=Predatory Functional Morphology in Raptors: Interdigital Variation in Talon Size Is Related to Prey Restraint and Immobilisation Technique |journal=PLOS ONE |date=25 November 2009 |volume=4 |issue=11 |pages=e7999 |doi=10.1371/journal.pone.0007999 |pmid=19946365 |pmc=2776979 |bibcode=2009PLoSO...4.7999F |doi-access=free }}</ref><ref name=Burton>{{cite book|title=Birds of Prey|page=[https://archive.org/details/birdsofprey0000burt/page/8 8]|first=Philip|last=Burton|others=illustrated by Boyer, Trevor; Ellis, Malcolm; Thelwell, David|publisher=Gallery Books|year=1989|isbn=978-0-8317-6381-7|url-access=registration|url=https://archive.org/details/birdsofprey0000burt/page/8}}</ref> แม้ว่านกล่าเหยื่อโดยหลักล่าเหยื่อที่มีชีวิต มีนกหลายชนิด (เช่น [[อินทรีทะเล]], [[แร้ง]] และ[[คอนดอร์]]) ก็[[scavenge|กินของเน่า]]และกิน[[ซากศพ]]<ref name=Perrins/>
นกล่าเหยื่อจะมีหลักการบินโดยใช้ความรู้สึกกระตือรือร้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมองเห็น นกกลุ่มนี้เป็นนกที่ล่า[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]]เป็นส่วนใหญ่รวมทั้ง[[นก]]ด้วยกันจำพวกอื่น ๆ โดยมีกรงเล็บและจะงอยปากที่ค่อนข้างใหญ่และประสิทธิภาพและเหมาะสำหรับการฉีกขาดเนื้อ ส่วนใหญ่[[ตัวเมีย]]มีขนาดใหญ่กว่า[[ตัวผู้]] จัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่บนสุดของ[[ห่วงโซ่อาหาร]]<ref name="brown"> Brown, Leslie (1997). ''Birds of Prey''. Chancellor Press. ISBN 1-85152-732-X.</ref>


แม้ว่าศัพท์ "นกล่าเหยื่อ" ในทางทฤษฎีอาจรวมถึงนกทุกตัวที่ล่าและกินสัตว์อื่นเป็นประจำ<ref name=Burton/> [[ornithologist|นักปักษีวิทยา]]ใช้คำนิยามที่แคบกว่าเดิม{{Citation needed|date=December 2018}} โดยไม่นับนักล่าที่[[piscivorous|กินปลาเป็นอาหาร]]ทั้งสองชนิดอย่าง[[วงศ์นกกระสา]], [[วงศ์นกยาง]], [[วงศ์นกนางนวล]], [[วงศ์นกสคัว]], [[เพนกวิน]] และ[[วงศ์นกกระเต็นน้อย]] เช่นเดียวกันกับนกที่[[insectivorous|กินแมลง]]เป็นหลักอย่าง[[นกเกาะคอน]] (เช่น [[นกอีเสือ]]) และนกอย่าง[[nightjar]] และ [[frogmouth]] นกนักล่าที่สูญพันธุ์บางชนิดมีกรงเล็บคล้ายกับนกล่าเหยื่อสมัยใหม่ เช่น ญาติของ[[mousebird]] ([[Sandcoleidae]]),<ref>{{cite journal |last1=Mayr |first1=Gerald |title=New data on the anatomy and palaeobiology of sandcoleid mousebirds (Aves, Coliiformes) from the early Eocene of Messel |journal=Palaeobiodiversity and Palaeoenvironments |date=19 April 2018 |volume=98 |issue=4 |pages=639–651 |doi=10.1007/s12549-018-0328-1 |s2cid=134450324 }}</ref> [[Messelasturidae]] และ [[Enantiornithes]] บางชนิด<ref>{{cite journal |last1=Xing |first1=Lida |last2=McKellar |first2=Ryan C. |last3=O'Connor |first3=Jingmai K. |last4=Niu |first4=Kecheng |last5=Mai |first5=Huijuan |title=A mid-Cretaceous enantiornithine foot and tail feather preserved in Burmese amber |journal=Scientific Reports |date=29 October 2019 |volume=9 |issue=1 |pages=15513 |doi=10.1038/s41598-019-51929-9 |pmid=31664115 |pmc=6820775 |bibcode=2019NatSR...915513X |doi-access=free }}</ref> แสดงว่ามีความเป็นไปได้ที่จะมี[[วิวัฒนาการเบนเข้า]]
มีหลาย[[สปีชีส์|ชนิด]]ที่จัดเป็นนกล่าเหยื่อ แต่ในทาง[[ornithology|ปักษีวิทยา]]ได้จำแบกประเภทของนกล่าเหยื่อ ไว้ดังนี้


[[ไฟล์:RaptorialSilhouettes no.svg|thumb|150px|ภาพวาดแสดงถึงความกว้างของปีกของนกล่าเหยื่อประเภทต่าง ๆ]]
== การจำแนก ==
== การจำแนก ==
คำว่า ''raptor'' มาจากศัพท์ภาษาละตินว่า ''[[wikt:rapio#Latin|rapio]]'' หมายถึง "บังคับด้วยกำลัง<ref name=brown>{{cite book|author=Brown, Leslie|year=1997|publisher=Chancellor Press|isbn=978-1-85152-732-8|title=Birds of Prey}}</ref> [[ชื่อสามัญ]]ของนกหลายชนิดอิงจากโครงสร้างร่างกาย แต่ชื่อท้องถิ่นหลายชื่อไม่สะท้อนความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการระหว่างกลุ่ม

[[ไฟล์:RaptorialSilhouettes no.svg|thumb|150px|ภาพวาดแสดงถึงความกว้างของปีกของนกล่าเหยื่อประเภทต่าง ๆ]]

* [[Accipitridae]] ได้แก่ [[เหยี่ยว]], [[อินทรี]], [[แร้ง]]
* [[Accipitridae]] ได้แก่ [[เหยี่ยว]], [[อินทรี]], [[แร้ง]]
* [[Pandionidae]] ได้แก่ [[เหยี่ยวออสเปร]]
* [[Pandionidae]] ได้แก่ [[เหยี่ยวออสเปร]]
บรรทัด 23: บรรทัด 38:
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

{{commonscat| Birds of prey|นกล่าเหยื่อ}}
== อ่านเพิ่ม ==
* {{cite book |title=British birds of prey : a study of Britain's 24 diurnal raptors |last=Brown |first=Leslie |publisher=HarperCollins Publishers |year=2013 |isbn=9780007406487 |location=Hammersmith, London }}
*{{cite book |title=Birds of Prey Hawks, Eagles, Falcons, and Vultures of North America |last1=Dunne |first1=Pete |last2=Karlson |first2=Kevin |publisher=Houghton Mifflin Harcourt |year=2017 |isbn=9780544018440 |oclc=953709935 }}
*{{cite book |title=Raptor : a journey through birds |last=Macdonald Lockhart |first=James |publisher=The University of Chicago Press |year=2017 |isbn=9780226470580 |location=Chicago |oclc=959200538 }}
*{{cite book |title=Birds of prey |last=Mackenzie |first=John P. S. |publisher=Key Porter Books |year=1997 |isbn=9781550138030 |location=Toronto, Ont |oclc=37041161}}
*{{cite book |title=Kenneth Newman's birds of prey of southern Africa : rulers of the skies : an identification guide to 67 species of southern African raptors |last=Newman |first=Kenneth |publisher=Korck Pub. |year=1999 |isbn=978-0620245364 |location=Knysna, South Africa |oclc=54470834 }}
* Olsen, Jerry 2014, Australian High Country raptors, CSIRO Publishing, Melbourne, {{ISBN|9780643109162}}.
* Remsen, J. V. Jr., C. D. Cadena, A. Jaramillo, M. Nores, J. F. Pacheco, M. B. Robbins, T. S. Schulenberg, F. G. Stiles, D. F. Stotz, and K. J. Zimmer. [Version 2007-04-05.] A classification of the bird species of [[South America]]. [[American Ornithologists' Union]]. Accessed 2007-04-10.
* {{cite book |title=Field guide to Raptors of Asia |last=Yamazaki |first=Tour |publisher=Asian Raptor research and Conservation Network |year=2012 |isbn=9786021963531 |location=London |oclc=857105968 }}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Sister project links
* [http://www.raptorresource.org เว็บไซต์การสำรวจนกล่าเหยื่อ {{en}}]
<!-- Configuration parameters. Do not leave empty; populate, or remove -->
|display=นกล่าเหยื่อ
<!-- Specify "no" to exclude the corresponding project: -->
|wikt=bird of prey|c=Category:Birds of prey|commonscat= |n=no|q=no|s=no|author=no|b=no|v=no
<!-- Specify "yes" to include the corresponding project: -->
|voy=no|d=no|m=no|mw=no|species=Falconiformes|species_author=no
}}
*[https://web.archive.org/web/20070114171742/http://www.peregrinefund.org/explore_raptors/index.html Explore Birds of Prey] with The Peregrine Fund
*[https://www.macaulaylibrary.org/the-internet-bird-collection-the-macaulay-library/ Explore Birds of Prey] on the Internet Bird Collection
*[http://www.birdwatching-bliss.com/bird-pictures.html Bird of Prey Pictures]
*[http://www.globalraptors.org Global Raptor Information Network]
*[https://web.archive.org/web/20100505032119/http://www.thearb.org/visit_birds-of-prey.php The Arboretum at Flagstaff's Wild Birds of Prey Program]
*[http://www.raptorresource.org/ Raptor Resource Project]


{{Authority control}}


[[หมวดหมู่:นกแบ่งตามชื่อสามัญ]]
[[หมวดหมู่:นกแบ่งตามชื่อสามัญ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:44, 24 กรกฎาคม 2566

นกล่าเหยื่อ
ภาพต่อของแรปเตอร์ที่ยังมีชีวิตอยู่ จากบนซ้ายไปขวา: นกเค้าอินทรียูเรเชีย, king vulture, เหยี่ยวเพเรกริน, นกอินทรีทอง และแร้งเครา
ภาพต่อของแรปเตอร์ที่ยังมีชีวิตอยู่ จากบนซ้ายไปขวา: นกเค้าอินทรียูเรเชีย, king vulture, เหยี่ยวเพเรกริน, นกอินทรีทอง และแร้งเครา
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์Edit this classification
โดเมน: ยูแคริโอต
อาณาจักร: สัตว์
ไฟลัม: สัตว์มีแกนสันหลัง
ชั้น: สัตว์ปีก
เคลด: Passerea
เคลด: Telluraves
กลุ่มที่รวมอยู่ด้วย
หน่วยที่รวมโดยแคลดิสติกส์แต่ไม่รวมโดยดั้งเดิม

นกล่าเหยื่อ (อังกฤษ: Bird of prey หรือ predatory birds) มีอีกชื่อว่า แรปเตอร์ (raptors) เป็นชนิดของนกประเภท hypercarnivorous ที่ล่าและกินสัตว์มีกระดูกสันหลังตัวอื่น (ส่วนใหญ่เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, สัตว์เลื้อยคลาน และนกขนาดเล็กตัวอื่น) นอกจากความเร็วและความแข็งแกร่งแล้ว นักล่าเหล่านี้ยังมีสายตาแหลมคมไว้หาเหยื่อจากระยะไกลหรือระหว่างบิน ขาที่แข็งแกร่งกับกรงเล็บแหลมสำหรับจับหรือฆ่าเหยื่อ และจะงอยปากโค้งงอทรงพลังไว้ฉีกเนื้อ[1][2][3] แม้ว่านกล่าเหยื่อโดยหลักล่าเหยื่อที่มีชีวิต มีนกหลายชนิด (เช่น อินทรีทะเล, แร้ง และคอนดอร์) ก็กินของเน่าและกินซากศพ[1]

แม้ว่าศัพท์ "นกล่าเหยื่อ" ในทางทฤษฎีอาจรวมถึงนกทุกตัวที่ล่าและกินสัตว์อื่นเป็นประจำ[3] นักปักษีวิทยาใช้คำนิยามที่แคบกว่าเดิม[ต้องการอ้างอิง] โดยไม่นับนักล่าที่กินปลาเป็นอาหารทั้งสองชนิดอย่างวงศ์นกกระสา, วงศ์นกยาง, วงศ์นกนางนวล, วงศ์นกสคัว, เพนกวิน และวงศ์นกกระเต็นน้อย เช่นเดียวกันกับนกที่กินแมลงเป็นหลักอย่างนกเกาะคอน (เช่น นกอีเสือ) และนกอย่างnightjar และ frogmouth นกนักล่าที่สูญพันธุ์บางชนิดมีกรงเล็บคล้ายกับนกล่าเหยื่อสมัยใหม่ เช่น ญาติของmousebird (Sandcoleidae),[4] Messelasturidae และ Enantiornithes บางชนิด[5] แสดงว่ามีความเป็นไปได้ที่จะมีวิวัฒนาการเบนเข้า

การจำแนก

คำว่า raptor มาจากศัพท์ภาษาละตินว่า rapio หมายถึง "บังคับด้วยกำลัง[6] ชื่อสามัญของนกหลายชนิดอิงจากโครงสร้างร่างกาย แต่ชื่อท้องถิ่นหลายชื่อไม่สะท้อนความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการระหว่างกลุ่ม

ภาพวาดแสดงถึงความกว้างของปีกของนกล่าเหยื่อประเภทต่าง ๆ

และอาจรวมถึงกลุ่มนกที่หากินในเวลากลางคืนด้วย ได้แก่ นกในอันดับ Strigiformes

ในประเทศไทยและการอพยพย้ายถิ่น

ในประเทศไทย มีนกล่าเหยื่อทั้งหมดจำนวน 55 ชนิด มากกว่า 32 ชนิดเป็นนกอพยพย้ายถิ่นในฤดูหนาว หรือ นกอพยพจากแถบประเทศทางซีกโลกเหนือ เช่น มองโกเลีย, จีน, ธิเบต, ไซบีเรีย, เกาหลี, ญี่ปุ่น ผ่านประเทศไทยไปประเทศอื่นในคาบสมุทรมลายู เพื่อหลบหนีความหนาวไปทางซีกโลกทางใต้ที่อากาศอบอุ่นกว่าและอาหารการกินอุดมสมบูรณ์กว่า โดยสิ่งสำคัญที่มีผลต่อการบินของนกล่าเหยื่ออพยพ คือ มวลอากาศร้อนและกระแสลม มวลอากาศร้อนเป็นสิ่งสำคัญต่อการบินอพยพของนก เพื่อลดการสูญเสียพลังงานในระหว่างการบินอพยพเมื่อดวงอาทิตย์ส่องแสงส่งความร้อนมายังพื้นผิวโลก มีการดูดซับพลังงานความร้อนไว้แล้วค่อย ๆ ลอยตัวสูงขึ้นรวมตัวกันจนมีความหนาแน่นมาก เรียกว่า มวลอากาศ ซึ่งอาจเกิดในที่โล่งหรือแนวเทือกเขาก็ได้ เมื่อมีกระแสลมพัดเอามวลอากาศร้อนที่อยู่ตามทุ่งไปปะทะกับภูเขาซึ่งเปรียบเสมือนกำแพงกั้น ทำให้มวลอากาศร้อนรวมกันเป็นก้อนใหญ่ลอยสูงขึ้นสู่ฟ้า นกล่าเหยื่อที่บินอพยพจะมองเห็นและใช้มวลอากาศร้อนพยุงตัวไปข้างหน้า ซึ่งในแต่ละวันเมื่อถึงเวลาเย็นนกล่าเหยื่อจะหาที่พักผ่อนในเวลากลางคืน เพื่อเตรียมอพยพในวันรุ่งขึ้น เป็นอย่างนี้ทุกวันจนกว่าจะถึงเป้าหมายที่จะอาศัยอยู่ตลอดช่วงฤดูหนาว บริเวณประเทศแถบใกล้เส้นศูนย์สูตรในประเทศไทย, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย เป็นประเทศหลัก โดยเมื่อเวลาผ่านไปถึงช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคมของปีถัดไป นกล่าเหยื่อเหล่านี้จะบินอพยพกลับไปถิ่นฐานเดิมเพื่อรังวางไข่อีกครั้ง[9]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Perrins, Christopher, M; Middleton, Alex, L. A., บ.ก. (1984). The Encyclopaedia of Birds. Guild Publishing. p. 102.
  2. Fowler, Denver W.; Freedman, Elizabeth A.; Scannella, John B.; Pizzari, Tom (25 November 2009). "Predatory Functional Morphology in Raptors: Interdigital Variation in Talon Size Is Related to Prey Restraint and Immobilisation Technique". PLOS ONE. 4 (11): e7999. Bibcode:2009PLoSO...4.7999F. doi:10.1371/journal.pone.0007999. PMC 2776979. PMID 19946365.
  3. 3.0 3.1 Burton, Philip (1989). Birds of Prey. illustrated by Boyer, Trevor; Ellis, Malcolm; Thelwell, David. Gallery Books. p. 8. ISBN 978-0-8317-6381-7.
  4. Mayr, Gerald (19 April 2018). "New data on the anatomy and palaeobiology of sandcoleid mousebirds (Aves, Coliiformes) from the early Eocene of Messel". Palaeobiodiversity and Palaeoenvironments. 98 (4): 639–651. doi:10.1007/s12549-018-0328-1. S2CID 134450324.
  5. Xing, Lida; McKellar, Ryan C.; O'Connor, Jingmai K.; Niu, Kecheng; Mai, Huijuan (29 October 2019). "A mid-Cretaceous enantiornithine foot and tail feather preserved in Burmese amber". Scientific Reports. 9 (1): 15513. Bibcode:2019NatSR...915513X. doi:10.1038/s41598-019-51929-9. PMC 6820775. PMID 31664115.
  6. Brown, Leslie (1997). Birds of Prey. Chancellor Press. ISBN 978-1-85152-732-8.
  7. Burton, Philip (1989). Birds of Prey. illustrated by Boyer, Trevor; Ellis, Malcolm; Thelwell, David. Gallery Books. p. 8. ISBN 0-8317-6381-7.
  8. Perrins, Christopher, M; Middleton, Alex, L. A., eds. (1984). The Encyclopaedia of Birds. Guild Publishing. p. 102.
  9. เรียนรู้วิถีนกล่าเหยื่ออพยพข้ามถิ่น ประเทศไทยคือเส้นทางหลัก!! จากเดลินิวส์

อ่านเพิ่ม

  • Brown, Leslie (2013). British birds of prey : a study of Britain's 24 diurnal raptors. Hammersmith, London: HarperCollins Publishers. ISBN 9780007406487.
  • Dunne, Pete; Karlson, Kevin (2017). Birds of Prey Hawks, Eagles, Falcons, and Vultures of North America. Houghton Mifflin Harcourt. ISBN 9780544018440. OCLC 953709935.
  • Macdonald Lockhart, James (2017). Raptor : a journey through birds. Chicago: The University of Chicago Press. ISBN 9780226470580. OCLC 959200538.
  • Mackenzie, John P. S. (1997). Birds of prey. Toronto, Ont: Key Porter Books. ISBN 9781550138030. OCLC 37041161.
  • Newman, Kenneth (1999). Kenneth Newman's birds of prey of southern Africa : rulers of the skies : an identification guide to 67 species of southern African raptors. Knysna, South Africa: Korck Pub. ISBN 978-0620245364. OCLC 54470834.
  • Olsen, Jerry 2014, Australian High Country raptors, CSIRO Publishing, Melbourne, ISBN 9780643109162.
  • Remsen, J. V. Jr., C. D. Cadena, A. Jaramillo, M. Nores, J. F. Pacheco, M. B. Robbins, T. S. Schulenberg, F. G. Stiles, D. F. Stotz, and K. J. Zimmer. [Version 2007-04-05.] A classification of the bird species of South America. American Ornithologists' Union. Accessed 2007-04-10.
  • Yamazaki, Tour (2012). Field guide to Raptors of Asia. London: Asian Raptor research and Conservation Network. ISBN 9786021963531. OCLC 857105968.

แหล่งข้อมูลอื่น