ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พรีแคมเบรียน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 36: บรรทัด 36:


==ภาพรวม==
==ภาพรวม==
อภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียนนั้นไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก แม้ว่าจะกินเวลาของประวัติของโลกกว่าเจ็ดในแปด โดยสิ่งที่เกี่ยวกับยุคนี้ที่รู้จักกันดีส่วนใหญ่ถูกค้นพบตั้งแต่ช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1960 เป็นต้นมา สำหรับบันทึกซากดึกดำบรรพ์ของอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียนนั้นแย่กว่า[[บรมยุคฟาเนอโรโซอิก]]ที่อยู่ถัดขึ้นมา และซากดึกดำบรรพ์จากอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียน (เช่น [[สโตรมาโตไลต์]]) นั้นสามารถใช้งานทาง[[การลำดับชั้นหินตามชีวภาพ]]ได้อย่างจำกัด<ref name=Monroe>{{cite book |first1=James S. |last1=Monroe |first2=Reed |last2=Wicander |title=The Changing Earth: Exploring Geology and Evolution |edition=2nd |location=Belmont |publisher=[[Wadsworth Publishing Company]] |year=1997 |page=492 |url=https://books.google.com/books?id=48aiAgAAQBAJ&pg=PA492|isbn=9781285981383 }}</ref> ทั้งนี้ เนื่องจากหินของอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียนจำนวนมากนั้นถูก[[การแปรสภาพ|แปรสภาพ]]อย่างหนักหน่วง โดยทำให้บดบังต้นกำเนิดของหินเหล่านั้น ขณะที่หินอื่น ๆ ถูกทำลายโดยการกร่อน หรือถูกฝังไว้อยู่ใต้ชั้นหินของบรมยุคฟาเนอโรโซอิก<ref name=Monroe/><ref>{{cite book |last1=Levin |first1=Harold L. |title=The earth through time |date=2010 |publisher=J. Wiley |location=Hoboken, N.J. |isbn=978-0470387740 |pages=230–233 |edition=9th}} Outlined in {{cite web |first1=Pamela J.W. |last1=Gore |title=The Earliest Earth: 2,100,000,000 years of the Archean Eon |url=http://higheredbcs.wiley.com/legacy/college/levin/0471697435/chap_tut/chaps/chapter08-01.html |date=25 October 2005}}</ref><ref>{{cite book |chapter=The Precambrian Era |chapter-url=http://geo.msu.edu/extra/geogmich/precambrian.html |publisher=[[Michigan State University]] |last=Davis |first=C.M. |year=1964 |title=Readings in the Geography of Michigan}}</ref>
อภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียนนั้นไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก แม้ว่าจะกินเวลาของประวัติของโลกกว่าเจ็ดในแปด โดยสิ่งที่เกี่ยวกับยุคนี้ที่รู้จักกันดีส่วนใหญ่ถูกค้นพบตั้งแต่ช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1960 เป็นต้นมา สำหรับบันทึกซากดึกดำบรรพ์ของอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียนนั้นแย่กว่าที่อยู่ถัดขึ้นมา และซากดึกดำบรรพ์จากอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียน (เช่น ) นั้นสามารถใช้งานทางได้อย่างจำกัด ทั้งนี้ เนื่องจากหินของอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียนจำนวนมากนั้นถูกอย่างหนักหน่วง โดยทำให้บดบังต้นกำเนิดของหินเหล่านั้น ขณะที่หินอื่น ๆ ถูกทำลายโดยการกร่อน หรือถูกฝังไว้อยู่ใต้ชั้นหินของบรมยุคฟาเนอโรโซอิก


มีแนวความคิดว่าโลกนั้น[[โลก#การกำเนิด|รวมตัวกันขึ้น]]จากวัตถุในวงโคจรรอบ[[ดวงอาทิตย์]]เมื่อประมาณ 4,543 ล้านปีก่อน และอาจถูกดาวเคราะห์อีกดวงนามว่า [[เทียอา]] ไม่นานนักหลังจากการก่อตัวพุ่งชน แยกวัตถุออกไปจากโลกไปกำเนิดเป็น[[ดวงจันทร์]] (ดู [[สมมุติฐานการชนครั้งใหญ่]]) ขณะที่เปลือกโลกที่เสถียรแล้วนั้นอยู่ที่ 4,433 ล้านปีก่อน เนื่องจากผลึก[[เพทาย]]จาก[[รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย]]ถูกกำหนดได้ 4,404 ± 8 ล้านปีก่อน<ref>{{cite web |url=http://geoscience.wisc.edu/geoscience/people/faculty/john-valley/zircons-are-forever/ |title=Zircons are Forever |access-date=28 April 2007 |year=2005 |work=Department of Geoscience |archive-date=2019-05-18 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190518054145/http://geoscience.wisc.edu/geoscience/people/faculty/john-valley/zircons-are-forever/ |url-status=dead }}</ref><ref>{{cite journal |last1=Cavosie |first1=Aaron J. |last2=Valley |first2=John W. |last3=Wilde |first3=Simon A. |title=Chapter 2.5 The Oldest Terrestrial Mineral Record: A Review of 4400 to 4000 Ma Detrital Zircons from Jack Hills, Western Australia |journal=Developments in Precambrian Geology |date=2007 |volume=15 |pages=91–111 |doi=10.1016/S0166-2635(07)15025-8|isbn=9780444528100 }}</ref>
มีแนวความคิดว่าโลกนั้นจากวัตถุในวงโคจรรอบเมื่อประมาณ 4,543 ล้านปีก่อน และอาจถูกดาวเคราะห์อีกดวงนามว่า ไม่นานนักหลังจากการก่อตัวพุ่งชน แยกวัตถุออกไปจากโลกไปกำเนิดเป็น (ดู ) ขณะที่เปลือกโลกที่เสถียรแล้วนั้นอยู่ที่ 4,433 ล้านปีก่อน เนื่องจากผลึกจากถูกกำหนดได้ 4,404 ± 8 ล้านปีก่อน


คำว่า "พรีแคมเบรียน" ถูกใช้โดย[[นักธรณีวิทยา]]และ[[บรรพชีวินวิทยา|นักบรรพชีวินวิทยา]]สำหรับการอภิปรายโดยทั่วไปที่ไม่ต้องการชื่อบรมยุคที่เจาะจง อย่างไรก็ตาม ทั้ง[[สำนักงานสำรวจทางธรณีวิทยาแห่งสหรัฐ]] (USGS)<ref>{{citation |author=U.S. Geological Survey Geologic Names Committee |title=Divisions of geologic time – major chronostratigraphic and geochronologic units |publisher=[[United States Geological Survey]] |work=U.S. Geological Survey Fact Sheet 2010–3059 |pages=2 |year=2010 |url=https://pubs.usgs.gov/fs/2010/3059/ |access-date=20 June 2018}}</ref> และ[[คณะกรรมมาธิการการลำดับชั้นหินสากล]] (ICS) ถือว่าคำนี้นั้นไม่เป็นทางการ<ref>{{cite web |work=[[International Commission on Stratigraphy]] |publisher=[[International Chronostratigraphic Chart]] |date=February 2017 |url=https://stratigraphy.org/chart |first1=Junxuan |last1=Fan |first2=Xudong |last2=Hou |title=Chart |access-date=10 May 2018}}</ref> เนื่องจากช่วงยุคที่อยู่ภายในพรีแคมเบรียนนั้นประกอบด้วยสามบรมยุค (ได้แก่ [[บรมยุคเฮเดียน]] [[บรมยุคอาร์เคียน]] และ[[บรมยุคโพรเทอโรโซอิก]]) บางครั้งจึงถูกกล่าวถึงเป็น ''อภิมหาบรมยุค'' (supereon)<ref>{{cite journal |last1=Senter |first1=Phil |title=The Age of the Earth & Its Importance to Biology |journal=The American Biology Teacher |date=1 April 2013 |volume=75 |issue=4 |pages=251–256 |doi=10.1525/abt.2013.75.4.5|s2cid=85652369 }}</ref><ref>{{cite journal |last1=Kamp |first1=Ulrich |title=Glaciations |journal=International Encyclopedia of Geography: People, the Earth, Environment and Technology |date=6 March 2017 |pages=1–8 |doi=10.1002/9781118786352.wbieg0612|isbn=9780470659632 }}</ref> แต่ศัพท์นี้ก็ถือว่าไม่เป็นทางด้วย เนื่องจากไม่ได้ถูกกำหนดไว้ในคู่มือการลำดับชั้นหินตามอายุกาลของคณะกรรมมาธิการการลำดับชั้นหินสากล<ref>{{cite web |title=Stratigraphic Guide |url=https://stratigraphy.org/guide/chron |website=International Commission on Stratigraphy |location=Table 3 |access-date=9 December 2020}}</ref>
คำว่า "พรีแคมเบรียน" ถูกใช้โดยและสำหรับการอภิปรายโดยทั่วไปที่ไม่ต้องการชื่อบรมยุคที่เจาะจง อย่างไรก็ตาม ทั้ง (USGS) และ (ICS) ถือว่าคำนี้นั้นไม่เป็นทางการ เนื่องจากช่วงยุคที่อยู่ภายในพรีแคมเบรียนนั้นประกอบด้วยสามบรมยุค (ได้แก่ และ) บางครั้งจึงถูกกล่าวถึงเป็น ''อภิมหาบรมยุค'' (supereon) แต่ศัพท์นี้ก็ถือว่าไม่เป็นทางด้วย เนื่องจากไม่ได้ถูกกำหนดไว้ในคู่มือการลำดับชั้นหินตามอายุกาลของคณะกรรมมาธิการการลำดับชั้นหินสากล


คำว่า '''''อีโอโซอิก''''' (Eozoic; มาจากคำว่า ''eo-'' หมายความว่า แรกสุด) นั้นเป็นคำพ้องกับคำว่า ''พรี-แคมเบรียน''<ref>{{cite book|last=Hitchcock|first=C. H.|title=The Geology of New Hampshire|url=https://books.google.com/books?id=zCWO-P0txYYC&pg=PA511|year=1874|page=511|quote= The name ''Eozoic'' seems to have been proposed by Dr. [[J.W. Dawson]], of Montreal, in 1865. He did not fully define the limits of its application at that time; but it seems to have been generally understood by geologists to embrace all the obscurely fossiliferous rocks older than the Cambrian.}}</ref><ref>{{cite book|title=Bulletin|url=https://books.google.com/books?id=YngeAQAAIAAJ&pg=RA3-PA28|volume=767|year=1925|publisher=U.S. Government Printing Office|page=3|quote= [1888] Sir [[J. W. Dawson]] prefers the term “Eozoic” [to Archean], and would have it include all the Pre-Cambrian strata.}}</ref> หรือโดยเจาะจงยิ่งขึ้น คือ ''[[บรมยุคอาร์เคียน|อาร์เคียน]]''<ref>{{cite book|last=Salop|first=L.J.|title=Geological Evolution of the Earth During the Precambrian|url=https://books.google.com/books?id=SmX7CAAAQBAJ&pg=PA9|year=2012|publisher=Springer|isbn=978-3-642-68684-9|page=9|quote= a possibility of dividing the Precambrian history into two eons: the Eozoic, embracing the Archean Era only, and the Protozoic, comprising all the remaining Precambrian Eras.}}</ref>
คำว่า '''''อีโอโซอิก''''' (Eozoic; มาจากคำว่า ''eo-'' หมายความว่า แรกสุด) นั้นเป็นคำพ้องกับคำว่า ''พรี-แคมเบรียน'' หรือโดยเจาะจงยิ่งขึ้น คือ


==รูปแบบสิ่งมีชีวิต==
==รูปแบบสิ่งมีชีวิต==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:42, 6 พฤศจิกายน 2565

อภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียน
~4600 – 541.0 ± 1.0 ล้านปีก่อน
วิทยาการลำดับเวลา
การเสนอการแบ่งย่อยดูที่ การเสนอเส้นเวลาของพรีแคมเบรียน
นิรุกติศาสตร์
ชื่อพ้องคริปโตโซอิก
ข้อมูลการใช้
เทห์วัตถุโลก
การใช้ระดับภาคทั่วโลก (ICS)
การใช้ช่วงเวลาธรณีกาลของ ICS
การนิยาม
หน่วยวิทยาการลำดับเวลาอภิมหาบรมยุค
หน่วยลำดับชั้นหินอภิมหาบรมยุค
ความเป็นทางการของช่วงกาลไม่เป็นทางการ
คำนิยามขอบล่างการก่อกำเนิดโลก
ขอบล่าง GSSPN/A
การอนุมัติ GSSPN/A
คำนิยามขอบบนการปรากฏของซากดึกดำบรรพ์ร่องรอย Treptichnus pedum
ขอบบน GSSPแหล่งฟอร์จูนเฮด รัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์ ประเทศแคนาดา
47°04′34″N 55°49′52″W / 47.0762°N 55.8310°W / 47.0762; -55.8310
การอนุมัติ GSSP1992

อภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียน (อังกฤษ: Precambrian supereon หรือ อังกฤษ: Pre-Cambrian supereon อักษรย่อ pꞒ) หรือ คริปโตโซอิก (อังกฤษ: Cryptozoic) เป็นส่วนแรกสุดของประวัติของโลก ซึ่งเกิดอยู่ก่อนหน้าบรมยุคฟาเนอโรโซอิก โดยอภิมหาบรมยุคนี้ได้ชื่อเช่นนี้เนื่องจากอยู่ก่อนหน้ายุคแคมเบรียน ซึ่งเป็นยุคแรกของบรมยุคฟาเนอโรโซอิก ซึ่งตั้งตามแคมเบรีย (Cambria) ซึ่งเป็นชื่อแบบละตินของเวลส์ ที่ซึ่งหินจากยุคนี้ถูกนำมาศึกษาเป็นครั้งแรก โดยอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียนคิดเป็นประมาณร้อยละ 88 ของธรณีกาลของโลก

อภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียนเป็นหน่วยอย่างไม่เป็นทางการของธรณีกาล[1] แบ่งออกเป็นสามบรมยุค ได้แก่ บรมยุคเฮเดียน บรมยุคอาร์เคียน และบรมยุคโพรเทอโรโซอิก ของธรณีกาล โดยช่วงของยุคนี้นั้นคือตั้งแต่กำเนิดโลกเมื่อ 4.6 พันล้านปีก่อนจนถึงเริ่มต้นยุคแคมเบรียนเมื่อประมาณ 541 ล้านปีก่อน เมื่อสัตว์เปลือกแข็งปรากฏขึ้นครั้งแรกอย่างแพร่หลาย

ภาพรวม

อภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียนนั้นไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก แม้ว่าจะกินเวลาของประวัติของโลกกว่าเจ็ดในแปด โดยสิ่งที่เกี่ยวกับยุคนี้ที่รู้จักกันดีส่วนใหญ่ถูกค้นพบตั้งแต่ช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1960 เป็นต้นมา สำหรับบันทึกซากดึกดำบรรพ์ของอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียนนั้นแย่กว่าที่อยู่ถัดขึ้นมา และซากดึกดำบรรพ์จากอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียน (เช่น ) นั้นสามารถใช้งานทางได้อย่างจำกัด ทั้งนี้ เนื่องจากหินของอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียนจำนวนมากนั้นถูกอย่างหนักหน่วง โดยทำให้บดบังต้นกำเนิดของหินเหล่านั้น ขณะที่หินอื่น ๆ ถูกทำลายโดยการกร่อน หรือถูกฝังไว้อยู่ใต้ชั้นหินของบรมยุคฟาเนอโรโซอิก

มีแนวความคิดว่าโลกนั้นจากวัตถุในวงโคจรรอบเมื่อประมาณ 4,543 ล้านปีก่อน และอาจถูกดาวเคราะห์อีกดวงนามว่า ไม่นานนักหลังจากการก่อตัวพุ่งชน แยกวัตถุออกไปจากโลกไปกำเนิดเป็น (ดู ) ขณะที่เปลือกโลกที่เสถียรแล้วนั้นอยู่ที่ 4,433 ล้านปีก่อน เนื่องจากผลึกจากถูกกำหนดได้ 4,404 ± 8 ล้านปีก่อน

คำว่า "พรีแคมเบรียน" ถูกใช้โดยและสำหรับการอภิปรายโดยทั่วไปที่ไม่ต้องการชื่อบรมยุคที่เจาะจง อย่างไรก็ตาม ทั้ง (USGS) และ (ICS) ถือว่าคำนี้นั้นไม่เป็นทางการ เนื่องจากช่วงยุคที่อยู่ภายในพรีแคมเบรียนนั้นประกอบด้วยสามบรมยุค (ได้แก่ และ) บางครั้งจึงถูกกล่าวถึงเป็น อภิมหาบรมยุค (supereon) แต่ศัพท์นี้ก็ถือว่าไม่เป็นทางด้วย เนื่องจากไม่ได้ถูกกำหนดไว้ในคู่มือการลำดับชั้นหินตามอายุกาลของคณะกรรมมาธิการการลำดับชั้นหินสากล

คำว่า อีโอโซอิก (Eozoic; มาจากคำว่า eo- หมายความว่า แรกสุด) นั้นเป็นคำพ้องกับคำว่า พรี-แคมเบรียน หรือโดยเจาะจงยิ่งขึ้น คือ

รูปแบบสิ่งมีชีวิต

วันที่มีการกำเนิดชีวิตขึ้นนั้นยังไม่มีการกำหนดขึ้น โดยคาร์บอนที่ถูกพบในหินอายุ 3.8 พันล้านปี (บรมยุคอาร์เคียน) จากเกาะบริเวณนอกชายฝั่งด้านตะวันตกของกรีนแลนด์นั้นอาจเป็นจุดกำเนิดของอินทรีย์ นอกจากนี้ยังมีซากดึกดำบรรพ์ขนาดเล็กมากของแบคทีเรียอายุเก่ากว่า 3.46 พันล้านปีที่อยู่ในสภาพถูกเก็บรักษาไว้เป็นอย่างดีในรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย[2] โดยยังมีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ที่คาดว่าน่าจะมีอายุมากกว่า 100 ล้านปีในพื้นที่เดียนกันด้วย อย่างไรก็ตาม มีหลักฐานแสดงว่าสิ่งมีชีวิตนั้นสามารถวิวัฒนาการได้มามากกว่า 4.280 พันล้านปีก่อนแล้ว[3][4][5][6] ซึ่งประวัติชีวิตของแบคทีเรียนั้นค่อนข้างชัดเจนในตลอดส่วนที่เหลือ (บรมยุคโพรเทอโรโซอิก) ของอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียน

สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ที่มีความซับซ้อนอาจปรากฏขึ้นได้เร็วที่สุดถึง 2,100 ล้านปีก่อน[7] อย่างไรก็ตาม การตีความซากดึกดำบรรพ์โบราณนั้นเป็นปัญหา และ "...คำจำกัดความบางประการของการมีหลายเซลล์ (multicellularity) นั้นครอบคลุมซึ่งทุกสิ่งตั้งแต่แบคทีเรียธรรมดาพื้นฐานไปจนถึงตัวแบดเจอร์"[8] สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ที่ซับซ้อนที่เป็นไปได้อื่นในช่วงต้นนั้น ได้แก่ สาหร่ายสีแดงอายุ 2,450 ล้านปีจากคาบสมุทรโคลา[9] สัญญาณบ่งชี้ถึงสิ่งมีชีวิตเนื้อสารอินทรีย์ (carbonaceous biosignatures) อายุ 1,650 ล้านปีจากตอนเหนือของประเทศจีน[10] ราฟาทาซเมียอายุ 1,600 ล้านปี[11] และสาหร่ายสีแดงแบงจิโอมาร์ฟาอายุ 1,047 ล้านปีที่เป็นไปได้จากภูมิภาคอาร์คติกแคนาดา[12] โดยซากดึกดำบรรพ์ที่เก่าแก่ที่สุดที่ได้รับการยอมรับกันอย่างกว้างขวาง ว่าเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ที่ซับซ้อนนั้นถูกกำหนดอายุในยุคอีดีแอคารัน[13][14] และยังมีการพบลักษณะสิ่งมีชีวิตที่มีตัวอ่อนนุ่มหลากหลายในหลายสถานที่ทั่วโลก และมีอายุอยู่ระหว่าง 635 ถึง 542 ล้านปี โดยสิ่งเหล่านี้เรียกรวมว่า ชีวชาติยุคอีดีแอคารันหรือเวนเดียน ซึ่งสิ่งมีชีวิตมีเปลือกแข็งได้ปรากฏตัวขึ้นเมื่อสิ้นสุดช่วงกาลดังกล่าว ซึ่งนับเป็นจุดเริ่มต้นของบรมยุคฟาเนอโรโซอิก ในช่วงกลางของยุคถัดจากแคมเบรียน สัตวชาติต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายนั้นถูกบันทึกอยู่ในหินดินดานเบอร์เจส รวมถึงบางประการซึ่งอาจเป็นตัวแทนของกลุ่มต้นสายของลำดับสมัยใหม่ (modern taxa) โดยความหลากหลายของรูปแบบสิ่งมีชีวิตที่เพิ่มขึ้นในช่วงต้นยุคแคมเบรียนนั้น เรียกว่า การระเบิดของสิ่งมีชีวิตชีวิตยุคแคมเบรียน[15][16]

ในขณะที่แผ่นดินนั้นดูเหมือนจะไร้ซึ่งพืชและสัตว์ ไซยาโนแบคทีเรียและจุลชีพอื่น ๆ นั้นได้ก่อตัวเป็นเสื่อโพรแคริโอตขึ้นปกคลุมพื้นที่บนบก[17]

และยังมีการพบร่องรอยของสัตว์ที่มีอวัยวะคล้ายขาในโคลนเมื่อ 551 ล้านปีก่อน[18][19]

สภาพแวดล้อมของดาวเคราะห์และมหันตภัยออกซิเจน

หินละลายรูปหมอนที่ผุกร่อนในอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียนในเข็มขัดกรีนสโตนเทมากามีของหินฐานทวีปแคนาดา

หลักฐานที่ละเอียดของการเคลื่อนตัวของแผ่นธรณีและกิจกรรมทางธรณีแปรสัณฐานอื่น ๆ ในอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียนนั้นถูกเก็บรักษาไว้ได้อย่างไม่ดีนัก โดยทั่วไปแล้วเชื่อกันว่าทวีปก่อนเกิด (proto-continents) ขนาดเล็กนั้นปรากฏขึ้นก่อน 4,280 ล้านปีก่อน และแผ่นดินส่วนใหญ่ของโลกได้รวมเข้าด้วยกันเป็นมหาทวีปเดียวเมื่อประมาณ 1,130 ล้านปีก่อน มหาทวีปดังกล่าว เรียกว่า มหาทวีปโรดีเนีย และได้แตกออกจากกันราว 750 ล้านปีก่อน มีการระบุยุคธารน้ำแข็งจำนวนหนึ่งขึ้น ซึ่งย้อนไปได้ถึงสมัยฮูโรเนียนในราว ๆ 2,400–2,100 ล้านปีก่อน โดยหนึ่งในการศึกษาที่ดีที่สุด คือ การเปลี่ยนสภาพโดยธารน้ำแข็งสเตอร์เชียน-วารานเจียนประมาณ 850–635 ล้านปีก่อน ซึ่งอาจนำไปสู่การเกิดภาวะธารน้ำแข็งทุกหนทุกแห่งมาจนถึงเส้นศูนย์สูตร เป็นผลให้เกิด "ปรากฏการณ์โลกก้อนหิมะ"

ชั้นบรรยากาศของโลกในยุคเริ่มแรกนั้นยังไม่เป็นที่เข้าใจกันดีนัก นักธรณีวิทยาส่วนใหญ่เชื่อว่าชั้นบรรยากาศขณะนั้น ประกอบด้วย ไนโตรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สเฉื่อยอื่น ๆ เป็นหลัก และยังไร้ซึ่งออกซิเจนอิสระ อย่างไรก็ตาม มีหลักฐานว่าชั้นบรรยากาศที่อุดมไปด้วยออกซิเจนนั้นปรากฏมาตั้งแต่ช่วงเริ่มแรกของบรมยุคอาร์เคียนแล้ว[20]

ในปัจจุบัน ยังคงเชื่อกันว่าโมเลกุลของออกซิเจน นั้นไม่ใช่ส่วนสำคัญของชั้นบรรยากาศโลก จนกระทั่งภายหลังจากสิ่งมีชีวิตสังเคราะห์ด้วยแสงได้วิวัฒนาการขึ้น และได้ผลิตออกซิเจนออกมาในปริมาณมากซึ่งเป็นผลพลอยได้จากกระบวนการเมแทบอลิซึม การเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงนี้คือจากชั้นบรรยากาศซึ่งเฉื่อยทางเคมีไปสู่การออกซิไดซ์ ทำให้เกิดวิกฤตทางนิเวศวิทยาขึ้น ในบางครั้งเรียกกันว่า เหตุการณ์มหันตภัยออกซิเจน โดยในตอนแรก ออกซิเจนจะรวมตัวกับองค์ประกอบอื่น ๆ ในเปลือกโลกอย่างรวดเร็ว โดยส่วนใหญ่จะเป็นเหล็กโดยเป็นนำออกจากชั้นบรรยากาศโลก หลังจากแหล่งออกซิเดชันบนพื้นผิวได้หมดลง ออกซิเจนก็เริ่มเกิดการสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศ และบรรยากาศที่มีออกซิเจนเป็นปริมาณมากในปัจจุบันก็ได้พัฒนาขึ้น โดยหลักฐานนี้ปรากฏอยู่ในหินเก่าซึ่งมีการก่อตัวขึ้นของแถบเหล็กขนาดใหญ่ที่มีการวางตัวเป็นเหล็กออกไซด์

การแบ่งย่อย

ศัพทวิทยาได้มีการพัฒนาขึ้นเพื่อครอบคลุมในช่วงปีเริ่มแรกที่โลกเกิดขึ้น โดยการหาอายุจากการวัดสมบูรณ์ทำให้สามารถกำหนดวันที่แน่นอนให้กับรูปแบบและลักษณะเฉพาะ[21] โดยอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียนถูกแบ่งย่อยออกเป็นสามบรมยุค ได้แก่ บรมยุคเฮเดียน (4,600–4,000 ล้านปีก่อน) บรมยุคอาร์เคียน (4,000–2,500 ล้านปีก่อน) และบรมยุคโพรเทอโรโซอิก (2,500–541 ล้านปีก่อน) (ดูที่ เส้นเวลาของอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียน)

  • บรมยุคโพรเทอโรโซอิก บรมยุคนี้เป็นช่วงเวลาจากขอบล่างของยุคแคมเบรียนเมื่อ 541 ล้านปีก่อน ย้อนกลับไปถึง 2,500 ล้านปีก่อน แรกเริ่มถูกใช้เป็นชื่อพ้องสำหรับชื่อ "พรีแคมเบรียน" ด้วยเหตุนี้จึงหมายรวมทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่ก่อนหน้ายุคแคมเบรียน โดยบรมยุคโพรเทอโรโซอิกแบ่งออกเป็นสามมหายุค ได้แก่ มหายุคนีโอโพรเทอโรโซอิก มหายุคมีโซโพรเทอโรโซอิก และ มหายุคแพลีโอโพรเทอโรโซอิก
    • มหายุคนีโอโพรเทอโรโซอิก เป็นมหายุคทางธรณีกาลที่อายุน้อยที่สุดของบรมยุคโพรเทอโรโซอิก เริ่มต้นจากขอบล่างของยุคแคมเบรียน (541 ล้านปีก่อน) ย้อนลงไปถึง 1,000 ล้านปีก่อน โดยมหายุคนีโอโพรเทอโรโซอิกนั้นสอดคล้องกับหินพรีแคมเบรียนซี (Precambrian Z) ของการลำดับชั้นหินอเมริกาเหนือเดิม
      • ยุคอีดีแอคารัน เป็นยุคทางธรณีกาลที่อายุน้อยที่สุดในมหายุคนีโอโพรเทอโรโซอิก โดยใน "ธรณีกาลฉบับปี 2555" นั้นระบุว่ามีช่วงอายุอยู่ระหว่าง 541 ถึง 635 ล้านปีก่อน ในยุคนี้นั้นชีวชาติยุคอีดีแอคารันได้ปรากฏขึ้น
      • ยุคไครโอเจเนียน เป็นยุคที่อยู่ตอนกลางในมหายุคนีโอโพรเทอโรโซอิก มีช่วงอายุระหว่าง 635 ถึง 720 ล้านปีก่อน
      • ยุคโทเนียน เป็นยุคแรกสุดของมหายุคนีโอโพรเทอโรโซอิก มีช่วงอายุระหว่าง 720 ถึง 1,000 ล้านปีก่อน
    • มหายุคมีโซโพรเทอโรโซอิก เป็นมหายุคที่อยู่ตอนกลางของบรมยุคโพรเทอโรโซอิก มีช่วงอายุระหว่าง 1,000 ถึง 1,600 ล้านปีก่อน ซึ่งสอดคล้องกับหินพรีแคมเบรียนวาย (Precambrian Y) ของการลำดับชั้นหินอเมริกาเหนือเดิม
    • มหายุคแพลีโอโพรเทอโรโซอิก เป็นมหายุคที่เก่าที่สุดของบรมยุคโพรเทอโรโซอิก มีช่วงอายุระหว่าง 1,600 ถึง 2,500 ล้านปีก่อน ซึ่งสอดคล้องกับหินพรีแคมเบรียนเอ็กซ์ (Precambrian X) ของการลำดับชั้นหินอเมริกาเหนือเดิม
  • บรมยุคอาร์เคียน มีช่วงอายุระหว่าง 2,500 ถึง 4,000 ล้านปีก่อน
  • บรมยุคเฮเดียน มีช่วงอายุระหว่าง 4,000 ถึง 4,600 ล้านปีก่อน โดยคำนี้มีจุดประสงค์แรกเริ่มเพื่อให้ครอบคลุมช่วงเวลาก่อนที่หินใด ๆ จะถูกเก็บรักษาอยู่รอดมาได้ แม้ว่าจะมีผลึกเพทายบางส่วนจากช่วงอายุประมาณ 4,400 ล้านปีก่อน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการมีอยู่ของเปลือกโลกในบรมยุคเฮเดียน ส่วนบันทึกอื่น ๆ จากช่วงเวลาในบรมยุคเฮเดียนนั้นมาจากดวงจันทร์และอุกกาบาต[22][23]

มีการเสนอกันว่าอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียน ควรถูกแบ่งออกเป็นบรมยุคและสมัยต่าง ๆ เพื่อให้สะท้อนถึงขั้นตอนของการวิวัฒนาการของดาวเคราะห์โลก มากกว่าที่จะแบ่งกันเช่นปัจจุบันซึ่งขึ้นกับอายุเชิงตัวเลข ระบบดังกล่าวนี้สามารถอาศัยเหตุการณ์ในบันทึกการลำดับชั้นหินและอาศัยการกำหนดโดยจุดและแหล่งชั้นหินแบบฉบับขอบทั่วโลก (GSSP) โดยอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียนสามารถแบ่งออกได้เป็น 5 บรมยุค "ตามธรรมชาติ" โดยมีลักษณะดังนี้[24]

  1. บรมยุคการพอกสะสมและการเปลี่ยนสภาพ (Accretion and differentiation) เป็นยุคตั้งแต่การก่อกำเนิดดาวเคราะห์ไปจนถึงเหตุการณ์การชนครั้งใหญ่ที่ก่อให้เกิดดวงจันทร์
  2. บรมยุคเฮเดียน (Hadean) เป็นยุคที่เต็มไปด้วยการระดมชนหนักจากประมาณ 4.51 พันล้านปีก่อน (อาจรวมถึงช่วงยุคการเย็นตัวช่วงแรกของโลกด้วย) ไปจนถึงสิ้นสุดยุคการระดมชนหนักครั้งหลัง
  3. บรมยุคอาร์เคียน (Archean) เป็นยุคที่กำหนดขึ้นโดยการก่อตัวขึ้นของเปลือกโลกชั้นแรก (เข็มขัดกรีนสโตนอีซัว) ไปจนถึงการสะสมตัวของการเกิดแถบเหล็กเนื่องจากปริมาณออกซิเจนในชั้นบรรยากาศที่เพิ่มขึ้น
  4. บรมยุคเปลี่ยนผ่าน (Transition) เป็นยุคที่มีการเกิดแถบเหล็กอย่างต่อเนื่องไปจนถึงชั้นหินแดงทวีปแรก
  5. บรมยุคโพรเทอโรโซอิก (Proterozoic) เป็นยุคของการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาคยุคใหม่ไปจนถึงสัตว์ตัวแรก

มหาทวีปพรีแคมเบรียน

แผนที่ของมหาทวีปเคนอร์แลนด์เมื่อ 2.5 พันล้านปีก่อน
แผนที่ของมหาทวีปเคนอร์แลนด์ที่แตกออกเมื่อ 2.3 พันล้านปีก่อน
มหาทวีปโคลัมเบียเมื่อประมาณ 1.6 พันล้านปีก่อน
ไฟล์:Rodinia reconstruction.jpg
การเสนอแผนที่ใหม่ของมหาทวีปโรดิเนียเมื่อ 750 ล้านปีก่อน
ตำแหน่งของแผ่นดินใกล้กับจุดสิ้นสุดของอภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียน

การเคลื่อนตัวของแผ่นธรณีภาคของโลก ทำให้เกิดการก่อตัวและการแตกออกของทวีปเมื่อเวลาผ่านไป รวมไปถึง การก่อตัวเป็นมหาทวีปซึ่งรวมเอาแผ่นดินทั้งหมดไว้ด้วย มหาทวีปแรกสุดที่รู้จัก คือ วาลบารา โดยก่อตัวขึ้นจากทวีปก่อนเกิดและกลายเป็นมหาทวีปเมื่อ 3.636 พันล้านปีก่อน วาลบาราแตกออกจากกันเมื่อประมาณ 2.845 ถึง 2.803 พันล้านปีก่อน มหาทวีปเคนอร์แลนด์ก่อตัวขึ้นเมื่อประมาณ 2.72 พันล้านปีก่อนและแตกออกในบางช่วงก่อน 2.45–2.1 พันล้านปีก่อนเป็นหินฐานธรณีทวีปก่อนเกิด เรียกว่า ลอเรนเชีย บอลติกา ยิลการ์น และ คาลาฮารี มหาทวีปโคลัมเบียหรือนูนา ก่อตัวขึ้นเมื่อ 2.1–1.8 พันล้านปีก่อนและแตกออกเมื่อประมาณ 1.3–1.2 พันล้านปีก่อน[25][26] มหาทวีปโรดิเนีย คาดกันว่าก่อตัวขึ้นเมื่อประมาณ 1,300 ถึง 900 ล้านปีก่อน โดยได้รวบรวมทวีปส่วนใหญ่หรือทั้งหมดของโลกไว้ และแยกออกเป็นแปดทวีปเมื่อราว 750 ถึง 600 ล้านปีก่อน[27]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Gradstein, F.M.; Ogg, J.G.; Schmitz, M.D.; Ogg, G.M., บ.ก. (2012). The Geologic Timescale 2012. Vol. 1. Elsevier. p. 301. ISBN 978-0-44-459390-0.
  2. Brun, Yves; Shimkets, Lawrence J. (January 2000). Prokaryotic development. ASM Press. p. 114. ISBN 978-1-55581-158-7.
  3. Dodd, Matthew S.; Papineau, Dominic; Grenne, Tor; slack, John F.; Rittner, Martin; Pirajno, Franco; O'Neil, Jonathan; Little, Crispin T. S. (2 March 2017). "Evidence for early life in Earth's oldest hydrothermal vent precipitates". Nature. 543 (7643): 60–64. Bibcode:2017Natur.543...60D. doi:10.1038/nature21377. PMID 28252057.
  4. Zimmer, Carl (1 March 2017). "Scientists Say Canadian Bacteria Fossils May Be Earth's Oldest". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 2 March 2017.
  5. Ghosh, Pallab (1 March 2017). "Earliest evidence of life on Earth 'found'". BBC News. สืบค้นเมื่อ 2 March 2017.
  6. Dunham, Will (1 March 2017). "Canadian bacteria-like fossils called oldest evidence of life". Reuters. สืบค้นเมื่อ 1 March 2017.
  7. Albani, Abderrazak El; Bengtson, Stefan; Canfield, Donald E.; Bekker, Andrey; Macchiarelli, Roberto; Mazurier, Arnaud; Hammarlund, Emma U.; Boulvais, Philippe; Dupuy, Jean-Jacques; Fontaine, Claude; Fürsich, Franz T.; Gauthier-Lafaye, François; Janvier, Philippe; Javaux, Emmanuelle; Ossa, Frantz Ossa; Pierson-Wickmann, Anne-Catherine; Riboulleau, Armelle; Sardini, Paul; Vachard, Daniel; Whitehouse, Martin; Meunier, Alain (July 2010). "Large colonial organisms with coordinated growth in oxygenated environments 2.1 Gyr ago". Nature. 466 (7302): 100–104. Bibcode:2010Natur.466..100A. doi:10.1038/nature09166. PMID 20596019. S2CID 4331375.
  8. Donoghue, Philip C. J.; Antcliffe, Jonathan B. (July 2010). "Origins of multicellularity". Nature. 466 (7302): 41–42. doi:10.1038/466041a. PMID 20596008. S2CID 4396466.
  9. Rozanov, A. Yu.; Astafieva, M. M. (1 March 2013). "A unique find of the earliest multicellular algae in the Lower Proterozoic (2.45 Ga) of the Kola Peninsula". Doklady Biological Sciences. 449 (1): 96–98. doi:10.1134/S0012496613020051. PMID 23652437. S2CID 15774804.
  10. Qu, Yuangao; Zhu, Shixing; Whitehouse, Martin; Engdahl, Anders; McLoughlin, Nicola (1 January 2018). "Carbonaceous biosignatures of the earliest putative macroscopic multicellular eukaryotes from 1630 Ma Tuanshanzi Formation, north China". Precambrian Research. 304: 99–109. doi:10.1016/j.precamres.2017.11.004.
  11. Bengtson, Stefan; Sallstedt, Therese; Belivanova, Veneta; Whitehouse, Martin (14 March 2017). "Three-dimensional preservation of cellular and subcellular structures suggests 1.6 billion-year-old crown-group red algae". PLOS Biology. 15 (3): e2000735. doi:10.1371/journal.pbio.2000735. PMC 5349422. PMID 28291791.
  12. Gibson, Timothy M; Shih, Patrick M; Cumming, Vivien M; Fischer, Woodward W; Crockford, Peter W; Hodgskiss, Malcolm S.W; Wörndle, Sarah; Creaser, Robert A; Rainbird, Robert H; Skulski, Thomas M; Halverson, Galen P (2017). "Precise age of Bangiomorpha pubescens dates the origin of eukaryotic photosynthesis" (PDF). Geology. 46 (2): 135–138. doi:10.1130/G39829.1.
  13. Laflamme, M. (9 September 2014). "Modeling morphological diversity in the oldest large multicellular organisms". Proceedings of the National Academy of Sciences. 111 (36): 12962–12963. Bibcode:2014PNAS..11112962L. doi:10.1073/pnas.1412523111. PMC 4246935. PMID 25114212.
  14. Kolesnikov, Anton V.; Rogov, Vladimir I.; Bykova, Natalia V.; Danelian, Taniel; Clausen, Sébastien; Maslov, Andrey V.; Grazhdankin, Dmitriy V. (October 2018). "The oldest skeletal macroscopic organism Palaeopascichnus linearis". Precambrian Research. 316: 24–37. Bibcode:2018PreR..316...24K. doi:10.1016/j.precamres.2018.07.017.
  15. Fedonkin, Mikhail A.; Gehling, James G.; Grey, Kathleen; Narbonne, Guy M.; Vickers-Rich, Patricia (2007). The Rise of Animals: Evolution and Diversification of the Kingdom Animalia. JHU Press. p. 326. doi:10.1086/598305. ISBN 9780801886799.
  16. Dawkins, Richard; Wong, Yan (2005). The Ancestor's Tale: A Pilgrimage to the Dawn of Evolution. Houghton Mifflin Harcourt. pp. 673. ISBN 9780618619160.
  17. Selden, Paul A. (2005). "Terrestrialization (Precambrian–Devonian)" (PDF). Encyclopedia of Life Sciences. John Wiley & Sons, Ltd. doi:10.1038/npg.els.0004145. ISBN 978-0470016176.
  18. Scientists discover 'oldest footprints on Earth' in southern China dating back 550 million years The Independent
  19. Chen, Zhe; Chen, Xiang; Zhou, Chuanming; Yuan, Xunlai; Xiao, Shuhai (June 2018). "Late Ediacaran trackways produced by bilaterian animals with paired appendages". Science Advances. 4 (6): eaao6691. Bibcode:2018SciA....4.6691C. doi:10.1126/sciadv.aao6691. PMC 5990303. PMID 29881773.
  20. Clemmey, Harry; Badham, Nick (1982). "Oxygen in the Precambrian Atmosphere". Geology. 10 (3): 141–146. Bibcode:1982Geo....10..141C. doi:10.1130/0091-7613(1982)10<141:OITPAA>2.0.CO;2.
  21. Geological Society of America's "2009 GSA Geologic Time Scale."
  22. Harrison, T. Mark (27 April 2009). "The Hadean Crust: Evidence from >4 Ga Zircons". Annual Review of Earth and Planetary Sciences. 37 (1): 479–505. Bibcode:2009AREPS..37..479H. doi:10.1146/annurev.earth.031208.100151.
  23. Abramov, Oleg; Kring, David A.; Mojzsis, Stephen J. (October 2013). "The impact environment of the Hadean Earth". Geochemistry. 73 (3): 227–248. Bibcode:2013ChEG...73..227A. doi:10.1016/j.chemer.2013.08.004.
  24. Bleeker, W. (2004) [2004]. "Toward a "natural" Precambrian time scale". ใน Felix M. Gradstein; James G. Ogg; Alan G. Smith (บ.ก.). A Geologic Time Scale 2004. Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-78673-7. also available at Stratigraphy.org: Precambrian subcommission
  25. Zhao, Guochun; Cawood, Peter A.; Wilde, Simon A.; Sun, M. (2002). "Review of global 2.1–1.8 Ga orogens: implications for a pre-Rodinia super-continent". Earth-Science Reviews. 59 (1): 125–162. Bibcode:2002ESRv...59..125Z. doi:10.1016/S0012-8252(02)00073-9.
  26. Zhao, Guochun; Sun, M.; Wilde, Simon A.; Li, S.Z. (2004). "A Paleo-Mesoproterozoic super-continent: assembly, growth and breakup". Earth-Science Reviews (Submitted manuscript). 67 (1): 91–123. Bibcode:2004ESRv...67...91Z. doi:10.1016/j.earscirev.2004.02.003.
  27. Li, Z. X.; Bogdanova, S. V.; Collins, A. S.; Davidson, A.; De Waele, B.; Ernst, R. E.; Fitzsimons, I. C. W.; Fuck, R. A.; Gladkochub, D. P.; Jacobs, J.; Karlstrom, K. E.; Lul, S.; Natapov, L. M.; Pease, V.; Pisarevsky, S. A.; Thrane, K.; Vernikovsky, V. (2008). "Assembly, configuration, and break-up history of Rodinia: A synthesis" (PDF). Precambrian Research. 160 (1–2): 179–210. Bibcode:2008PreR..160..179L. doi:10.1016/j.precamres.2007.04.021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 6 February 2016.

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

  • Valley, John W., William H. Peck, Elizabeth M. King (1999) Zircons Are Forever, The Outcrop for 1999, University of Wisconsin-Madison Wgeology.wisc.edu เก็บถาวร 2012-03-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีนEvidence from detrital zircons for the existence of continental crust and oceans on the Earth 4.4 Gyr ago Accessed Jan. 10, 2006
  • Wilde, S. A.; Valley, J. W.; Peck, W. H.; Graham, C. M. (2001). "Evidence from detrital zircons for the existence of continental crust and oceans on the Earth 4.4 Gyr ago". Nature. 409 (6817): 175–178. doi:10.1038/35051550. PMID 11196637.
  • Wyche, S.; Nelson, D. R.; Riganti, A. (2004). "4350–3130 Ma detrital zircons in the Southern Cross Granite–Greenstone Terrane, Western Australia: implications for the early evolution of the Yilgarn Craton". Australian Journal of Earth Sciences. 51 (1): 31–45. doi:10.1046/j.1400-0952.2003.01042.x.

แหล่งข้อมูลอื่น