ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โพรงอากาศอักเสบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
| medication =
| medication =
| prognosis =
| prognosis =
| frequency = 10–30% each year (developed world)<ref name=Ros2015/><ref name=Ad2014/>
| frequency = ปีละ 10–30% (กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว)<ref name=Ros2015/><ref name=Ad2014/>
| deaths =
| deaths =
}}
}}
<!-- Definition and symptoms -->
'''โพรงอากาศอักเสบ''' หรือที่นิยมเรียกกันว่า '''ไซนัสอักเสบ''' ({{lang-en|sinusitis, rhinosinusitis}}) คือการอักเสบของชั้นเยื่อเมือกภายใน[[Paranasal sinuses|โพรงอากาศข้างจมูก]] หรือ "ไซนัส" ซึ่งอาจทำให้เกิดอาการมีน้ำมูกข้นเหนียว [[คัดจมูก]] และปวดใบหน้าได้ อาการอื่นๆ ที่อาจพบได้ ได้แก่ มีไข้ ปวดศีรษะ สูญเสียการรับกลิ่น เจ็บคอ และไอ หากเป็นมาไม่เกิน 4 สัปดาห์ เรียกว่า ไซนัสอักเสบเฉียบพลัน และหากเป็นมานานกว่า 12 สัปดาห์ เรียกว่า ไซนัสอักเสบเรื้อรัง
'''โพรงอากาศอักเสบ''' หรือที่นิยมเรียกกันว่า '''ไซนัสอักเสบ''' ({{lang-en|sinusitis, rhinosinusitis}}) คือ[[การอักเสบ]]ของ[[Nasal mucosa|ชั้นเยื่อเมือก]]ภายใน[[Paranasal sinuses|โพรงอากาศข้างจมูก]] หรือ "ไซนัส" ซึ่งอาจทำให้เกิดอาการมี[[เมือก#ระบบหายใจ|น้ำมูกข้นเหนียว]] [[คัดจมูก]] และ[[Orofacial pain|ปวดใบหน้า]]ได้<ref name=Ros2015/><ref name=Head2016>{{cite journal | vauthors = Head K, Chong LY, Piromchai P, Hopkins C, Philpott C, Schilder AG, Burton MJ | title = Systemic and topical antibiotics for chronic rhinosinusitis | journal = The Cochrane Database of Systematic Reviews | volume = 4 | pages = CD011994 | date = April 2016 | pmid = 27113482 | doi = 10.1002/14651858.CD011994.pub2 | url = http://discovery.ucl.ac.uk/1489913/1/Schilder_Head_et_al-2016-The_Cochrane_library.pdf }}</ref> อาการอื่นๆ ที่อาจพบได้ ได้แก่ [[มีไข้]] [[ปวดศีรษะ]] [[Hyposmia|สูญเสียการรับกลิ่น]] [[เจ็บคอ]] และ[[ไอ (อาการ)|ไอ]]<ref name=CDC2013/> หากเป็นมาไม่เกิน 4 สัปดาห์ เรียกว่า ไซนัสอักเสบ[[Acute (medicine)|เฉียบพลัน]] และหากเป็นมานานกว่า 12 สัปดาห์ เรียกว่า ไซนัสอักเสบ[[Chronic condition|เรื้อรัง]]<ref name=Ros2015/>


สาเหตุอาจเกิดจากการติดเชื้อ โรคภูมิแพ้ มลพิษในอากาศ หรือโครงสร้างในจมูกมีความผิดปกติ โดยส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคหืด ซิสติกไฟโบรซิส หรือภูมิคุ้มกันผิดปกติ อาจมีการกลับเป็นซ้ำๆ ได้มากกว่าคนอื่น โดยส่วนใหญ่แล้วสามารถวินิจฉัยได้โดยไม่ต้องใช้การถ่ายภาพรังสีทางการแพทย์ เว้นแต่จะสงสัยว่ามีภาวะแทรกซ้อน ในรายที่เป็นเรื้อรังสามารถตรวจยืนยันได้ โดยอาจตรวจด้วยการส่องตรวจโดยตรง หรือการทำซีทีสแกนก็ได้
สาเหตุอาจเกิดจากการติดเชื้อ โรคภูมิแพ้ มลพิษในอากาศ หรือโครงสร้างในจมูกมีความผิดปกติ โดยส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคหืด ซิสติกไฟโบรซิส หรือภูมิคุ้มกันผิดปกติ อาจมีการกลับเป็นซ้ำๆ ได้มากกว่าคนอื่น โดยส่วนใหญ่แล้วสามารถวินิจฉัยได้โดยไม่ต้องใช้การถ่ายภาพรังสีทางการแพทย์ เว้นแต่จะสงสัยว่ามีภาวะแทรกซ้อน ในรายที่เป็นเรื้อรังสามารถตรวจยืนยันได้ โดยอาจตรวจด้วยการส่องตรวจโดยตรง หรือการทำซีทีสแกนก็ได้

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:50, 18 มิถุนายน 2565

โพรงอากาศอักเสบ
(Sinusitis)
ชื่ออื่นSinus infection, rhinosinusitis
โพรงอากาศขากรรไกรบนข้างซ้ายอักเสบ (Maxillary sinusitis) (ลูกศร) สังเกตว่าลักษณะโพรงอากาศดูทึบเทียบกับอีกข้างหนึ่งเนื่องจากมีของเหลวจากการอักเสบ
สาขาวิชาโสตศอนาสิกวิทยา
อาการน้ำมูกข้นเหนียว, คัดจมูก, เจ็บใบหน้า, มีไข้[1][2]
สาเหตุการติดเชื้อ (แบคทีเรีย, เชื้อรา, ไวรัส), โรคภูมิแพ้, มลพิษในอากาศ, โครงสร้างจมูกผิดปกติ[2]
ปัจจัยเสี่ยงโรคหอบหืด, ซิสติกไฟโบรซิส, ภูมิคุ้มกันบกพร่อง[1]
วิธีวินิจฉัยส่วนใหญ่ใช้วินิจฉัยจากอาการ[1]
โรคอื่นที่คล้ายกันไมเกรน[3]
การป้องกันการล้างมือ, การงดสูบบุหรี่
การรักษายาแก้ปวด, ยาพ่นจมูกชนิดสเตียรอยด์, การล้างจมูก, ยาปฏิชีวนะ[1][4]
ความชุกปีละ 10–30% (กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว)[1][5]

โพรงอากาศอักเสบ หรือที่นิยมเรียกกันว่า ไซนัสอักเสบ (อังกฤษ: sinusitis, rhinosinusitis) คือการอักเสบของชั้นเยื่อเมือกภายในโพรงอากาศข้างจมูก หรือ "ไซนัส" ซึ่งอาจทำให้เกิดอาการมีน้ำมูกข้นเหนียว คัดจมูก และปวดใบหน้าได้[1][6] อาการอื่นๆ ที่อาจพบได้ ได้แก่ มีไข้ ปวดศีรษะ สูญเสียการรับกลิ่น เจ็บคอ และไอ[2] หากเป็นมาไม่เกิน 4 สัปดาห์ เรียกว่า ไซนัสอักเสบเฉียบพลัน และหากเป็นมานานกว่า 12 สัปดาห์ เรียกว่า ไซนัสอักเสบเรื้อรัง[1]

สาเหตุอาจเกิดจากการติดเชื้อ โรคภูมิแพ้ มลพิษในอากาศ หรือโครงสร้างในจมูกมีความผิดปกติ โดยส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคหืด ซิสติกไฟโบรซิส หรือภูมิคุ้มกันผิดปกติ อาจมีการกลับเป็นซ้ำๆ ได้มากกว่าคนอื่น โดยส่วนใหญ่แล้วสามารถวินิจฉัยได้โดยไม่ต้องใช้การถ่ายภาพรังสีทางการแพทย์ เว้นแต่จะสงสัยว่ามีภาวะแทรกซ้อน ในรายที่เป็นเรื้อรังสามารถตรวจยืนยันได้ โดยอาจตรวจด้วยการส่องตรวจโดยตรง หรือการทำซีทีสแกนก็ได้

การป้องกันอาจทำได้โดยการล้างมือ งดสูบบุหรี่ และการฉีดวัคซีน การบรรเทาอาการสามารถทำได้โดยใช้ยา เช่น ยาแก้ปวด ยาพ่นจมูกชนิดสเตียรอยด์ และการล้างจมูก คำแนะนำในการรักษาแรกเริ่มสำหรับผู้ป่วยไซนัสอักเสบเฉียบพลันคือการสังเกตอาการอย่างระมัดระวัง (watchful waiting) หากอาการไม่ดีขึ้นใน 7-10 วัน หรือมีอาการแย่ลง จึงพิจารณาเริ่มใช้ยาปฏิชีวนะ หรือเปลี่ยนชนิดยาหากใช้มาก่อนแล้ว ในกรณีที่จะต้องใช้ยาปฏิชีวนะมีคำแนะนำให้ใช้ยาอะม็อกซีซิลลิน หรือ อะม็อกซีซิลลินผสมคลาวูโลเนต เป็นอันดับแรก ในผู้ป่วยไซนัสอักเสบเรื้อรังบางรายอาจจำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด

ไซนัสอักเสบเป็นโรคที่พบได้บ่อย โดยข้อมูลจากสหรัฐและยุโรปพบว่าในปีหนึ่งๆ จะพบคนทั่วไปประมาณร้อยละ 10-30 ป่วยเป็นไซนัสอักเสบ ไซนัสอักเสบเรื้อรังพบได้ในคนร้อยละ 12.5 ค่าใช้จ่ายในการรักษาไซนัสอักเสบในสหรัฐคิดเป็นเงินกว่า 11,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ มีการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุสมผลในการรักษาไซนัสอักเสบจากเชื้อไวรัสอยู่บ่อยครั้ง

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Ros2015
  2. 2.0 2.1 2.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ CDC2013
  3. "Migraines vs. Sinus Headaches". American Migraine Foundation. สืบค้นเมื่อ 2017-10-23.
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ King2015
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Ad2014
  6. Head K, Chong LY, Piromchai P, Hopkins C, Philpott C, Schilder AG, Burton MJ (April 2016). "Systemic and topical antibiotics for chronic rhinosinusitis" (PDF). The Cochrane Database of Systematic Reviews. 4: CD011994. doi:10.1002/14651858.CD011994.pub2. PMID 27113482.

แหล่งข้อมูลอื่น

การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก