จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ข้อเสนอปี 1937:
ข้อเสนออย่างเป็นทางการแรกสำหรับการแบ่งดินแดน จัดพิมพ์โดยคณะกรรมการรพีลในปี 1937 มีการเสนอให้อาณัติของบริเตนคงอยู่ต่อไปเพื่อธำรงไว้ซึ่ง "ความศักดิ์สิทธิ์ของเยรูซาเล็มและเบธเลเฮ็ม" ในรูปของดินแดนแทรกตั้งแต่เยรูซาเล็มถึงจัฟฟา รวมทั้ง Lydda และ Ramle
1949–1967 (จริง): ดินแดนเวสต์แบงก์ที่ถูกจอร์แดนยึดครอง (สีเขียวอ่อน) และฉนวนกาซาที่อียิปต์ยึดครอง (สีเขียวแก่) หลังสงครามอาหรับ–อิสราเอลปี 1948 แสดงเส้นหยุดยิงปี 1949
1967–1994:
ระหว่างสงครามหกวัน อิสราเอลยึดเวสต์แบงก์ ฉนวนกาซาและที่สูงโกลัน ร่วมกับคาบสมุทรไซนาย (ซึ่งยกให้อียิปต์เพื่อแลกกับสนธิสัญญาสันติภาพหลังสงครามยมคิปปูร์) ในปี 1980–81 อิสราเอลยึดครองเยรูซาเล็มตะวันออกและที่สูงโกลัน
การยึดครองของอิสราเอลและการอ้างสิทธิ์ของปาเลสไตน์ซึ่งเยรูซาเล็มตะวันออกนั้นไม่ได้รับการรับรองจากนานาประเทศทั้งสองฝ่าย 2005–ปัจจุบัน: หลังอิสราเอลถอนตัวจากกาซาและการปะทะระหว่างพรรคการเมืองปาเลสไตน์สองพรรคใหญ่หลังฮามาสชนะการเลือกตั้งปี 2006 ทำให้รัฐบาลทั้งสองแยกขาดจากกันในฉนวนกาซาและเวสต์แบงก์