ข้ามไปเนื้อหา

แม่น้ำแมกเคนซี

พิกัด: 68°56′23″N 136°10′22″W / 68.93972°N 136.17278°W / 68.93972; -136.17278
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
68°56′23″N 136°10′22″W / 68.93972°N 136.17278°W / 68.93972; -136.17278
แม่น้ำแมกเคนซี
แม่น้ำ
แม่น้ำแมกเคนซีช่วงล่าง ถ่ายโดยนาซา
ประเทศ แคนาดา, นอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์
แม่น้ำสาขา
 - ซ้าย ลีเอิร์ด, อาร์กติกเรด
 - ขวา เกรตแบร์
ต้นกำเนิด
 - ตำแหน่ง ทะเลสาบเกรตสเลฟ, นอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์, แคนาดา
 - ระดับ
 - ความยาว แม่แบบ:Unit ความยาว
 - พิกัด 61°12′15″N 117°22′31″W / 61.20417°N 117.37528°W / 61.20417; -117.37528
ปากแม่น้ำ แมกเคนซี
 - ตำแหน่ง มหาสมุทรอาร์กติก, ทะเลโบฟอร์ต, แคนาดา
 - พิกัด 68°56′23″N 136°10′22″W / 68.93972°N 136.17278°W / 68.93972; -136.17278
ความยาว 1,738 km (1,080 mi)
พื้นที่ลุ่มน้ำ 1,805,200 ตร.กม. (696,992 ตร.ไมล์)
การไหล for มหาสมุทรอาร์กติก
 - เฉลี่ย 10,700 m3/s (377,867 cu ft/s)
 - สูงสุด 31,700 m3/s (1,119,475 cu ft/s)
แผนที่แสดงลุ่มน้ำของแม่น้ำแมกเคนซี
แผนที่แสดงลุ่มน้ำของแม่น้ำแมกเคนซี
แผนที่แสดงลุ่มน้ำของแม่น้ำแมกเคนซี

แม่น้ำแมกเคนซี (อังกฤษ: Mackenzie River; ฝรั่งเศส: Fleuve Mackenzie) เป็นแม่น้ำในดินแดนนอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์ ประเทศแคนาดา ไหลจากทางตะวันตกสุดของทะเลสาบเกรตสเลฟไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ลงสู่อ่าวแมกเคนซีในทะเลโบฟอร์ต มหาสมุทรอาร์กติก เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในประเทศแคนาดา มีความยาว 1,738 กม. (1,080 ไมล์) แต่ถ้ารวมความยาวกับแม่น้ำพีซและแม่น้ำฟินลีย์เข้าไปด้วยจะมีความยาวเป็น 4,241 กิโลเมตร (2,635 ไมล์) จัดเป็นแม่น้ำยาวเป็นอันดับ 2 ของทวีปอเมริกาเหนือ[1] แม่น้ำแมกเคนซีและแควย่อย มีปริมาณน้ำไหล 1,805,200 ตร.กม. (697,000 ตร.ไมล์)[2] หรือไหล 10,700 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที (380,000 ลูกบาศก์ฟุตต่อวินาที)

เซอร์อเล็กซานเดอร์ แมกเคนซี นักเดินเรือสำรวจชาวสกอตต์ได้เดินเรือมาพบแม่น้ำสายนี้ใน ค.ศ. 1789 หลังจากนั้นบริษัทฮัดสันส์เบย์ได้มาตั้งสถานีการค้าต่าง ๆ ขึ้นตามริมฝั่งแม่น้ำ ต่อมาสถานีการค้าเหล่านี้กลายเป็นหมู่บ้านและชุมชน อาทิ ฟอร์ตแมกเฟอร์สัน ฟอร์ตกู๊ดโฮป ฟอร์ตนอร์แมน ฟอร์ตซิมป์สัน และฟอร์ตโพรวิเดนซ์

อ้างอิง

[แก้]
  1. Atlas of Canada. "Rivers in Canada". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-05-20. สืบค้นเมื่อ 2008-03-16.
  2. Mackenzie River. (2006). In Encyclopædia Britannica. Retrieved September 12, 2006, from Encyclopædia Britannica Premium Service