ข้ามไปเนื้อหา

แผ่นดินไหวในเกาะสุมาตรา ค.ศ. 1907

พิกัด: 2°30′N 95°30′E / 2.5°N 95.5°E / 2.5; 95.5
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แผ่นดินไหวในเกาะสุมาตรา ค.ศ. 1907
แผ่นดินไหวในเกาะสุมาตรา ค.ศ. 1907ตั้งอยู่ในเกาะสุมาตรา
แผ่นดินไหวในเกาะสุมาตรา ค.ศ. 1907
เวลาสากลเชิงพิกัด1907-01-04 05:19:11
รหัสเหตุการณ์ ISC16957943
USGS-ANSSComCat
วันที่ท้องถิ่น4 มกราคม ค.ศ. 1907 (1907-01-04)
เวลาท้องถิ่น12:20
ขนาด7.5–8.0 Ms
8.2–8.4 Mw
ศูนย์กลาง2°30′N 95°30′E / 2.5°N 95.5°E / 2.5; 95.5
รอยเลื่อนเมกะทรัสต์ซุนดา
ประเภทเมกะทรัสต์
ระดับความรุนแรงที่รู้สึกได้แม่แบบ:EMS-98[1]
สึนามิyes
ผู้ประสบภัยเสียชีวิต 2,188 คน

แผ่นดินไหวในเกาะสุมาตรา ค.ศ. 1907 เกิดขึ้นในวันที่ 4 มกราคม ณ เวลา 05:19:12 UTC มีขนาดประมาณ 7.5–8.0 Ms ที่มีจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวใกล้กับเกาะซีเมอลูเวอ ริมเกาะสุมาตรา[2] ซึ่งก่อให้เกิดสึนามิที่สร้างความเสียหายในวงกว้าง และทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 2,188 คน[1] ความรุนแรงที่สังเกตได้ต่ำเมื่อเทียบกับขนาดของสึนามิทำให้เกิดการตีความเป็นแผ่นดินไหวสึนามิ การสั่นสะเทือนในระดับที่สูงขึ้นที่สังเกตได้จากเกาะนียัซมีสาเหตุมาจากแผ่นดินไหวตามขนาดใหญ่ไม่ถึงชั่วโมงต่อมา[1] สึนามินี้ก่อให้เกิดตำนานซมง (S'mong legend) ซึ่งได้รับการระบุว่าช่วยชีวิตผู้คนจำนวนมากในช่วงแผ่นดินไหวใน ค.ศ. 2004[3]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 Martin S.S.; Li L.; Okal E.A.; Morin J.; Tetteroo A.E.G.; Switzer A.D.; Sieh K.E. (2019-03-26). "Reassessment of the 1907 Sumatra "Tsunami Earthquake" Based on Macroseismic, Seismological, and Tsunami Observations, and Modeling". Pure and Applied Geophysics (ภาษาอังกฤษ). 176: 2831–2868. Bibcode:2019PApGe.176.2831M. doi:10.1007/s00024-019-02134-2. hdl:10356/136833. ISSN 1420-9136.
  2. Kanamori H.; Rivera L.; Lee W.H.K. (2010). "Historical seismograms for unravelling a mysterious earthquake: The 1907 Sumatra Earthquake". Geophysical Journal International. 183 (1): 358–374. Bibcode:2010GeoJI.183..358K. doi:10.1111/j.1365-246X.2010.04731.x.
  3. Rahman A.; Sakurai A.; Munadi K. (2018). "The analysis of the development of the Smong story on the 1907 and 2004 Indian Ocean tsunamis in strengthening the Simeulue island community's resilience". International Journal of Disaster Risk Reduction. 29: 13–23. doi:10.1016/j.ijdrr.2017.07.015.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]