เมอร์โบรมิน
หน้าตา
ชื่อ | |
---|---|
IUPAC name
dibromohydroxymercurifluorescein
| |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
เคมสไปเดอร์ | |
ECHA InfoCard | 100.004.486 |
EC Number |
|
KEGG | |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
C20H8Br2HgNa2O6 | |
มวลโมเลกุล | 750.658 g·mol−1 |
ลักษณะทางกายภาพ | dark green solid |
ความอันตราย | |
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH): | |
อันตรายหลัก
|
Toxic, dangerous for the environment |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
เมอร์โบรมิน (อังกฤษ: Merbromin) หรือ ยาแดง เป็นสารระงับเชื้อเฉพาะที่ ใช้สำหรับแผลบาดและถลอกเล็กน้อย เมอร์โบรมินเป็นสารประกอบเกลือออร์แกโนเมอร์คิวริกไดโซเดียมและฟลูออเรสซิน หาซื้อได้ทั่วไปในประเทศส่วนใหญ่ รวมทั้งประเทศไทย[ต้องการอ้างอิง], มีราคาถูก และเก็บรักษาได้นาน[1], แต่มีการเลิกใช้ไปในสหรัฐอเมริกา[2] เยอรมนี และฝรั่งเศส เนื่องจากเป็นสารประกอบที่มีปรอทอยู่ในโมเลกุล แม้ว่าจะไม่ได้มีการพิสูจน์อย่างจริงจังว่าไม่ปลอดภัยก็ตาม[2]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Mohite, P. N.; Bhatnagar, A. M. (2009). "Mercurochrome 1% as an Antiseptic for Burns: Economical - but is it Efficacious and Safe?". The Internet Journal of Surgery. 21 (2). ISSN 1528-8242.
Apart from these qualities, still the most important factor for which mercurochrome has remained the favorite of the physicians in the developing countries is its attractive price. The compound is being sold at unbelievably low cost ... the reasons being the low manufacturing cost, longer shelf life, use in diluted form and importantly less propaganda about its medical use.
- ↑ 2.0 2.1 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขและบริการมนุษย์สหรัฐ. พ.ศ. 2541. Status of Certain Additional Over-the-Counter Drug Category II and III Active Ingredients. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://www.gpo.gov/fdsys/pkg/FR-1998-04-22/pdf/98-10578.pdf . สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2560.