ข้ามไปเนื้อหา

สหภาพเศรษฐกิจ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สหภาพเศรษฐกิจ (อังกฤษ: Economic union) เป็นรูปแบบหนึ่งของการบูรณาการทางเศรษฐกิจซึ่งประเทศสมาชิกภายในกลุ่มจะดำเนินกิจการภายใต้ของเศรษฐกิจเดียวกัน เช่น ใช้ระบบการเงินการคลังเดียวกัน ไม่มีการเก็บภาษีการค้าระหว่างกัน มีการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตระหว่างสมาชิกได้อย่างเสรีเปรียบเสมือนเป็นประเทศเดียวกัน วัตถุประสงค์คือ การเพิ่มประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจและการสร้างความสัมพันธ์กับเมืองใกล้ชิดและวัฒนธรรมระหว่างประเทศสมาชิก

สหภาพเศรษฐกิจ คือ การตกลงผ่านการค้า

รายชื่อสหภาพเศรษฐกิจ

[แก้]
รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในโลก:

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Economic union between all EU member states, but those of them inside the Eurozone are also part of an economic and monetary union.
  2. Established by the Treaty of Rome in force from 1958-1-1. WT/REG138/2 เก็บถาวร 2012-01-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  3. Established by the Treaty of Chaguaramas in force from 1973-8-1 WT/REG92/R/B/1 เก็บถาวร 2009-03-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  4. "WT/COMTD/1/Add.17". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-03-27. สืบค้นเมื่อ 2015-12-24.
  5. Common market in EFTA, Customs union since 1924.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]