สตฺยเมว ชยเต
สัตยเมวชยเต (สันสกฤต: सत्यमेव जयते, Satyameva Jayate; ออกเสียง [s̪ɐt̪jɐ.meːʋɐ ˈd͡ʑɐ.jɐ.t̪eː], IAST: satyam-eva jayate; แปลว่า "ความจริงเท่านั้นที่มีชัย") เป็น มนตร์ จากคัมภีร์ในศาสนาฮินดูชื่อ มุณฑโกปนิษัท[1] ภายหลังประเทศอินเดียได้รับเอกราช ได้นำเอามาใช้เป็นคติพจน์ประจําชาติอินเดียเมื่อวันที่ 26 มกราคม 1950 ซึ่งเป็นวันที่อินเดียได้รับสถานะเป็นสาธารณรัฐ[2][3]
ที่มา
[แก้]คำขวัญนี้มาจาก มนตร์ บทที่ 3.1.6 จาก มุณฑโกปนิษัท ซึ่งปรากฏดังต่อไปนี้:
- เป็นอักษรเทวนาครี
सत्यमेव जयते नानृतं सत्येन पन्था विततो देवयानः ।
येनाक्रमन्त्यृषयो ह्याप्तकामा यत्र तत् सत्यस्य परमं निधानम् ॥[1]
- ทับศัพท์ (อักษรละติน)
satyameva jayate nānṛtaṃ
satyena panthā vitato devayānaḥ
yenākramantyṛṣayo hyāptakāmā
yatra tat satyasya paramaṃ nidhānam[4]
- ทับศัพท์ (ภาษาไทย)
สตฺยเมว ชยเต นานฤตํ
สตฺเยน ปนฺถา วิตโต เทวยานะ
เยนากฺรมนฺตฺยฤษโย หฺยาปฺตกามา
ยตฺร ตตฺ สตฺยสฺย ปรมํ นิธานมฺ
- แปลเป็นภาษาอังกฤษ
ดูเพิ่ม
[แก้]- รายชื่อคำวัญประจำรัฐของอินเดีย
- ทรูธพรีเวลส์ (ความจริงจะคงอยู่) คติพจน์ประจําชาติของประเทศเช็กเกีย ซึ่งมีความหมายเดียวกัน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "Mundaka Upanishad". IIT Kanpur. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-04. สืบค้นเมื่อ 2020-06-04.
- ↑ "Motto for State Emblem" (PDF). Press Information Bureau of India - Archive.
- ↑ Department related parliamentary standing committee on home affairs (2005-08-25). "One hundred and sixteenth report on the state emblem of India (Prohibition of improper use) Bill, 2004". New Delhi: Rajya Sabha Secretariat, New Delhi: 6.11.1. สืบค้นเมื่อ 2008-09-26.
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help) - ↑ "The Mundaka Upanishad with Shankara's Commentary". Wisdom Library.
- ↑ Swami Krishnananda. "The Mundaka Upanishad:Third Mundaka, First Khanda".