ข้ามไปเนื้อหา

สงครามสเปน–สหรัฐ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สงครามสเปน–สหรัฐ[b]
ส่วนหนึ่งของ การปฏิวัติฟิลิปปินส์,
การให้เอกราชในทวีปอเมริกา,
และสงครามประกาศอิสรภาพคิวบา

(ตามเข็มนาฬิกาจากบนซ้าย)
วันที่21 เมษายน[c] – 10 ธันวาคม ค.ศ. 1898
(7 เดือน 2 สัปดาห์ 5 วัน)
สถานที่
ผล

สหรัฐชนะ

ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
  • สเปนละทิ้งอำนาจอธิปไตยเหนือคิวบา;
  • ยกปวยร์โตรีโก กวม และฟิลิปปินส์ให้แก่สหรัฐ;
  • สหรัฐจ่ายเงินจำนวน 20 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ให้แก่สเปน สำหรับโครงสร้างพื้นฐานที่สเปนเป็นเจ้าของ
คู่สงคราม

จักรวรรดิสเปน

ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
กำลัง

รวม: 300,000 นาย[4]

รวม: 339,783 นาย (มีทหารที่สามารถเข้าร่วมสงครามได้เพียงร้อยละ 20–25 เท่านั้น)[8]
288,452 นาย (แคริบเบียน)

  • 278,447 นาย ในคิวบา (มีทหารที่ปฏิบัติการในสมรภูมิหลักเพียง 2,820 นาย เท่านั้น)[9]
  • 10,005 นาย ในปวยร์โตรีโก
51,331 นาย (ฟิลิปปินส์)
ความสูญเสีย

รวม: 4,119 นาย
สหรัฐ:

  • เสียชีวิต 2,446 นาย
    • ทหารบกเสียชีวิต 369 นาย[9]
    • ทหารเรือเสียชีวิต 10 นาย[9]
    • นาวิกโยธินเสียชีวิต 6 นาย[9]
    • เสียชีวิตจากโรคระบาด 2,061 นาย[9][10]
  • บาดเจ็บ 1,662 นาย[10]
  • ถูกจับกุม 11 นาย[11]
  • เรือบรรทุกสินค้าอับปาง 1 ลำ[12]
  • เรือลาดตระเวนเสียหาย 1 ลำ[9]

รวม: 56,400–56,600 นาย
สเปน:

  • เสียชีวิต 15,700–15,800 นาย
    • ทหารบกเสียชีวิต 200 นาย[13]
    • ทหารเรือเสียชีวิต 500–600 นาย[13][e]
    • เสียชีวิตจากโรคระบาด 15,000 นาย[14]
  • บาดเจ็บ 700–800 นาย[13]
  • ถูกจับกุม 40,000+ นาย[9][f]
  • เรือเล็กอับปาง 6 ลำ[9]
  • เรือลาดตระเวนอับปาง 11 ลำ[9]
  • เรือพิฆาตอับปาง 2 ลำ[9]

สงครามสเปน–สหรัฐ[b] (21 เมษายน – 10 ธันวาคม ค.ศ. 1898) เป็นสงครามที่เริ่มต้นขึ้นภายหลังการระเบิดเรือยูเอสเอส เมน ในท่าเรืออาบานา อาณานิคมคิวบา นำไปสู่การแทรกแซงสงครามประกาศอิสรภาพคิวบาของสหรัฐ ซึ่งทำให้สหรัฐเริ่มมีอิทธิพลอย่างโดดเด่นเหนือภูมิภาคแคริบเบียน[15] และได้รับดินแดนจำนวนมาก ได้แก่ ปวยร์โตรีโก กวม และฟิลิปปินส์ นอกจากนี้ สงครามยังนำไปสู่การมีส่วนร่วมของสหรัฐในการปฏิวัติฟิลิปปินส์และสงครามฟิลิปปินส์–สหรัฐที่เกิดขึ้นภายหลังอีกด้วย

ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิสเปนเริ่มอ่อนแอลงอย่างเห็นได้ชัด ในขณะที่สหรัฐเปลี่ยนตนเองจากประเทศเกิดใหม่สู่ชาติมหาอำนาจที่กำลังเติบโต สเปนเริ่มเข้าสู่ช่วงขาลงตั้งแต่คริสต์ศวรรษก่อนหน้า และทรุดตัวลงมากขึ้นจากการรุกรานของนโปเลียน ซึ่งทำให้อาณานิคมในทวีปอเมริกาส่วนใหญ่ประกาศเอกราช[16] ด้วยความไม่มั่นคงทางการเมืองที่เกิดขึ้นในเวลาต่อมา ทั้งจากการประกาศเอกราชของอาณานิคม การปฏิวัติ และสงครามกลางเมือง ทําให้ประเทศสูญเสียดุลยภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ ในทางกลับกัน สหรัฐได้ขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องตลอดศตวรรษผ่านการซื้อดินแดน เช่น ลุยเซียนาและอะแลสกา, ผ่านปฏิบัติการทางทหาร เช่น สงครามเม็กซิโก–สหรัฐ, และโดยการรับผู้อพยพชาวยุโรปจำนวนมาก ซึ่งการเติบโตนี้เว้นช่องว่างไว้ในช่วงเวลาสั้น ๆ ระหว่างสงครามกลางเมืองอเมริกาและสมัยการบูรณะเท่านั้น[17]

เขตสงครามอยู่ที่ทะเลแคริบเบียนและแปซิฟิก ผู้สนับสนุนสงครามชาวอเมริกันได้คาดการณ์ไว้อย่างถูกต้องว่าอํานาจทางเรือของสหรัฐสามารถเอาชนะได้อย่างเด็ดขาด กำลังรบของสหรัฐสามารถยกพลขึ้นบกที่คิวบาและเข้าต่อสู้กับกองทหารรักษาการณ์สเปนที่กำลังเผชิญกับการโจมตีของกลุ่มก่อการกำเริบชาวคิวบาและการระบาดของไข้เหลือง[18][19] ซึ่งในที่สุด สเปนจึงยอมจำนนและร้องขอสันติภาพต่อสหรัฐ หลังจากกองเรือรบของสเปนถูกโจมตีอย่างย่อยยับในยุทธนาวีที่ซานเตียโกเดกูบาและอ่าวมะนิลา กอปรกับกองเรือสเปนสมัยใหม่บางส่วนได้ถอนกำลังกลับแผ่นดินแม่เพื่อป้องกันชายฝั่งของสเปน[20]

สงครามสิ้นสุดลงด้วยการลงนามสนธิสัญญาปารีสเมื่อ ค.ศ. 1898 โดยเป็นการเจรจาตามเงื่อนไขที่เอื้อประโยชน์แก่สหรัฐ สนธิสัญญายกปวยร์โตรีโก กวม และฟิลิปปินส์ให้แก่สหรัฐ และอนุญาตให้สหรัฐควบคุมคิวบาเป็นการชั่วคราว สำหรับสัมปทานในฟิลิปปินส์ สหรัฐได้จ่ายเงินจำนวน 20 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (650 ล้านดอลลาร์สหรัฐในปัจจุบัน) ให้แก่สเปนสำหรับโครงสร้างพื้นฐานที่สเปนเป็นเจ้าของ[21]

สงครามสเปน–สหรัฐทำให้อิทธิพลของสเปนในทวีปอเมริกา เอเชีย และแปซิฟิกที่ดำรงมาเกือบสี่ศตวรรษสิ้นสุดลง ความพ่ายแพ้และความสูญเสียพื้นที่ส่วนสุดท้ายของจักรวรรดิสเปนสร้างแรงสั่นสะเทือนต่อชาติสเปนเป็นอย่างยิ่ง และกระตุ้นให้เกิดการประเมินค่าทางปรัชญาและศิลปะอย่างละเอียดถี่ถ้วนของสังคมสเปนใหม่ที่เรียกว่ารุ่นปี 98 (Generación del 98)[20] ในขณะเดียวกัน สหรัฐไม่เพียงแต่กลายเป็นมหาอํานาจเท่านั้น แต่ยังได้ครอบครองเกาะหลายแห่งทั่วโลก ซึ่งกระตุ้นให้เกิดการถกเถียงกันอย่างรุนแรงเกี่ยวกับแนวคิดลัทธิการขยายอาณาเขต (expansionism)[22]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. 1.0 1.1 ไม่ได้รับการยอมรับจากคู่ขัดแย้งหลัก
  2. 2.0 2.1 ชื่ออื่น:
  3. สหรัฐประกาศสงครามต่อสเปนเมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1898 แต่วันที่เริ่มต้นสงครามต้องนับย้อนไปตั้งแต่วันที่ 21
  4. จำนวนนี้คือกบฏชาวคิวบาที่ก่อการกำเริบตั้งแต่ ค.ศ. 1895 ถึง ค.ศ. 1898[6]
  5. ความสูญเสียที่ใหญ่ที่สุดของกองทัพเรือสเปนอาจเป็นผลจากการพ่ายแพ้ทางยุทธนาวีที่อ่าวมะนิลาและที่ซานเตียโกเดกูบา[13]
  6. Clodfelter กล่าวว่าสหรัฐจับเชลยศึกได้ 30,000 นาย (รวมถึงปืนใหญ่ 100 กระบอก, ปืนกล 19 กระบอก, ไรเฟิล 25,114 กระบอก, และอุปกรณ์อื่น ๆ อีกจำนวนมาก) ในจังหวัดโอริเอนเตและบริเวณจังหวัดซานเตียโก เขายังระบุด้วยว่ากองทหารรักษาการณ์ปวยร์โตรีโก 10,000 นาย ยอมจํานนต่อสหรัฐ หลังจากการต่อสู้เพียงเล็กน้อย

อ้างอิง

[แก้]
  1. Louis A. Pérez (1998), The war of 1898: the United States and Cuba in history and historiography, UNC Press Books, ISBN 978-0807847428, เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ เมษายน 24, 2016, สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 31, 2015
  2. Benjamin R. Beede (1994), The War of 1898, and US interventions, 1898–1934: an encyclopedia, Taylor & Francis, ISBN 978-0824056247, เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ พฤษภาคม 27, 2016, สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 31, 2015
  3. Virginia Marie Bouvier (2001), Whose America?: the war of 1898 and the battles to define the nation, Praeger, ISBN 978-0275967949, เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ พฤษภาคม 14, 2016, สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 31, 2015
  4. Dyal, Carpenter & Thomas 1996, p. 21–22.
  5. Clodfelter 2017, p. 256.
  6. Clodfelter 2017, p. 308.
  7. Karnow 1990, p. 115
  8. Dyal, Carpenter & Thomas 1996, p. 20.
  9. 9.00 9.01 9.02 9.03 9.04 9.05 9.06 9.07 9.08 9.09 Clodfelter 2017, p. 255.
  10. 10.0 10.1 "America's Wars: Factsheet." เก็บถาวร กรกฎาคม 20, 2017 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน US Department of Veteran Affairs. Office of Public Affairs. Washington DC. Published April 2017.
  11. Marsh, Alan. "POWs in American History: A Synoposis" เก็บถาวร สิงหาคม 6, 2017 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. National Park Service. 1998.
  12. ดูที่: ยูเอสเอส เมร์ริแมก (ค.ศ. 1894)
  13. 13.0 13.1 13.2 13.3 Keenan 2001, p. 70.
  14. Tucker 2009, p. 105.
  15. "Milestones: 1866–1898 – Office of the Historian". history.state.gov. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 19, 2019. สืบค้นเมื่อ 2019-04-04.
  16. Lynch, John. "Spanish American Independence" in The Cambridge Encyclopedia of Latin America and the Caribbean 2nd edition. New York: Cambridge University Press 1992, p. 218.
  17. Thomas B. Alexander, "Persistent Whiggery in the Confederate South, 1860–1877", Journal of Southern History (1961), 27#3, pp. 305–329 JSTOR 2205211.
  18. Atwood, Paul (2010). War and Empire. New York: Pluto Press. pp. 98–102. ISBN 978-0745327648.
  19. Pérez 1998, p. 89 states: "In the larger view, the Cuban insurrection had already brought the Spanish army to the brink of defeat. During three years of relentless war, the Cubans had destroyed railroad lines, bridges, and roads and paralyzed telegraph communications, making it all but impossible for the Spanish army to move across the island and between provinces. [The] Cubans had, moreover, inflicted countless thousands of casualties on Spanish soldiers and effectively driven Spanish units into beleaguered defensive concentrations in the cities, there to suffer the further debilitating effects of illness and hunger."
  20. 20.0 20.1 Dyal, Carpenter & Thomas 1996, pp. 108–09.
  21. Benjamin R. Beede (2013). The War of 1898 and US Interventions, 1898T1934: An Encyclopedia. Taylor & Francis. p. 289. ISBN 978-1136746901. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ พฤษภาคม 15, 2016. สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 31, 2015.
  22. Herring, George C. (2008-10-28). "The War of 1898, the New Empire, and the Dawn of the American Century, 1893–1901". From Colony to Superpower: US Foreign Relations Since 1776. Oxford University Press. pp. 299–336. ISBN 9780199743773. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 23, 2023. สืบค้นเมื่อ 2021-05-18 – โดยทาง Google Books.

แหล่งข้อมูลทั่วไป

[แก้]

หนังสืออ่านเพิ่ม

[แก้]
  • Auxier, George W. (1939). "The Propaganda Activities of the Cuban Junta in Precipitating the Spanish-American War, 1895–1898". The Hispanic American Historical Review. 19 (3): 286–305. doi:10.2307/2507259. JSTOR 2507259.
  • Auxier, George W. "The Cuban question as reflected in the editorial columns of Middle Western newspapers (1895–1898)" (PhD dissertation, Ohio State University, 1938) complete text online เก็บถาวร เมษายน 30, 2018 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • Barnes, Mar. The Spanish–American War and Philippine Insurrection, 1898–1902: An Annotated Bibliography (Routledge Research Guides to American Military Studies) (2010)
  • Benton, Elbert Jay. International law and diplomacy of the Spanish–American war (Johns Hopkins UP, 1908) online free
  • Berner, Brad K. The Spanish–American War: A Historical Dictionary (Scarecrow Press, 1998)
  • Berner, Brad K., ed. The Spanish–American War: A Documentary History with Commentaries (2016), 289 pp; includes primary sources
  • Bradford, James C. ed., Crucible of Empire: The Spanish–American War and Its Aftermath (1993), essays on diplomacy, naval and military operations, and historiography
  • Cirillo, Vincent J. Bullets and Bacilli: The Spanish–American War and Military Medicine (2004)
  • Corbitt, Duvon C. (1963). "Cuban Revisionist Interpretations of Cuba's Struggle for Independence". The Hispanic American Historical Review. 43 (3): 395–404. doi:10.2307/2510074. JSTOR 2510074.
  • Cosmas, Graham A. An Army for Empire: The United States Army and the Spanish–American War (1971), organizational issues
  • Crapol, Edward P. "Coming to Terms with Empire: The Historiography of Late-Nineteenth-Century American Foreign Relations," Diplomatic History 16 (Fall 1992): 573–97
  • Cull, N. J., Culbert, D., Welch, D. Propaganda and Mass Persuasion: A Historical Encyclopedia, 1500 to the Present. "Spanish–American War". (2003). 378–79
  • Daley, L. (2000), "Canosa in the Cuba of 1898", ใน Aguirre, B. E.; Espina, E. (บ.ก.), Los últimos días del comienzo: Ensayos sobre la guerra, Santiago de Chile: RiL Editores, ISBN 978-9562841153
  • DeSantis, Hugh. "The Imperialist Impulse and American Innocence, 1865–1900," in Gerald K. Haines and J. Samuel Walker, eds., American Foreign Relations: A Historiographical Review (1981), pp. 65–90
  • Dirks, Tim. "War and Anti-War Films". The Greatest Films. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 7, 2005. สืบค้นเมื่อ November 9, 2005.
  • Dobson, John M. Reticent Expansionism: The Foreign Policy of William McKinley. (1988).
  • Feuer, A. B. The Spanish–American War at Sea: Naval Action in the Atlantic (1995) online edition เก็บถาวร พฤษภาคม 25, 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • Field, James A. (1978). "American Imperialism: The Worst Chapter in Almost Any Book". The American Historical Review. 83 (3): 644–68. doi:10.2307/1861842. JSTOR 1861842.
  • Flack, H.E. Spanish–American diplomatic relations preceding the war of 1898 (Johns Hopkins UP, 1906) online free
  • Foner, Philip, The Spanish–Cuban–American War and the Birth of American Imperialism, 1895–1902 (1972), A Marxist interpretation
  • Freidel, Frank. The Splendid Little War (1958), well illustrated narrative by scholar ISBN 0739423428
  • Fry, Joseph A. "From Open Door to World Systems: Economic Interpretations of Late-Nineteenth-Century American Foreign Relations," Pacific Historical Review 65 (May 1996): 277–303
  • Fry, Joseph A. "William McKinley and the Coming of the Spanish–American War: A Study of the Besmirching and Redemption of an Historical Image," Diplomatic History 3 (Winter 1979): 77–97
  • Funston, Frederick. Memoirs of Two Wars, Cuba and Philippine Experiences. New York: Charles Scribner's Sons, 1911 online edition
  • Gould, Lewis. The Spanish–American War and President McKinley (1980) excerpt and text search เก็บถาวร ตุลาคม 12, 2020 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • Grenville, John A. S. and George Berkeley Young. Politics, Strategy, and American Diplomacy: Studies in Foreign Policy, 1873–1917 (1966) pp. 239–66 on "The breakdown of neutrality: McKinley goes to war with Spain"
  • Hamilton, Richard. President McKinley, War, and Empire (2006)
  • Hard, Curtis V. (1988). Ferrell, Robert H. (บ.ก.). Banners in the Air: The Eighth Ohio Volunteers and the Spanish–American War. Kent State University Press. ISBN 978-0873383677. LCCN 88012033.
  • Harrington, Peter, and Frederic A. Sharf. "A Splendid Little War." The Spanish–American War, 1898. The Artists' Perspective. London: Greenhill, 1998
  • Harrington, Fred H. (1935). "The Anti-Imperialist Movement in the United States, 1898–1900". The Mississippi Valley Historical Review. 22 (2): 211–30. doi:10.2307/1898467. JSTOR 1898467.
  • Herring, George C. From Colony to Superpower: US Foreign Relations Since 1776 (2008), the latest survey
  • Hoganson, Kristin. Fighting For American Manhood: How Gender Politics Provoked the Spanish–American and Philippine–American Wars (1998)
  • Holbo, Paul S. (1967), "Presidential Leadership in Foreign Affairs: William McKinley and the Turpie-Foraker Amendment", The American Historical Review, 72 (4): 1321–35, doi:10.2307/1847795, JSTOR 1847795.
  • Kapur, Nick (2011). "William McKinley's Values and the Origins of the Spanish-American War: A Reinterpretation". Presidential Studies Quarterly. 41 (1): 18–38. doi:10.1111/j.1741-5705.2010.03829.x. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 23, 2023. สืบค้นเมื่อ October 25, 2020. JSTOR 23884754
  • Keller, Allan. The Spanish–American War: A Compact History (1969)
  • Killblane, Richard E., "Assault on San Juan Hill," Military History, June 1998, Vol. 15, Issue 2.
  • LaFeber, Walter, The New Empire: An Interpretation of American Expansion, 1865–1898 (1963)
  • Leeke, Jim. Manila and Santiago: The New Steel Navy in the Spanish–American War (2009)
  • Linderman, Gerald F. The Mirror of War: American Society and the Spanish–American War (1974), domestic aspects
  • Maass, Matthias. "When Communication Fails: Spanish–American Crisis Diplomacy 1898," Amerikastudien, 2007, Vol. 52 Issue 4, pp. 481–93
  • May, Ernest. Imperial Democracy: The Emergence of America as a Great Power (1961)
  • McCartney, Paul T. American National Identity, the War of 1898, and the Rise of American Imperialism (2006)
  • McCook, Henry Christopher (1899), The Martial Graves of Our Fallen Heroes in Santiago de Cuba, G. W. Jacobs & Co.
  • Miles, Nelson Appleton (2012). Harper's Pictorial History of the War with Spain;. HardPress. ISBN 978-1290029025. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 2, 2017. สืบค้นเมื่อ March 27, 2016.
  • Miller, Richard H. ed., American Imperialism in 1898: The Quest for National Fulfillment (1970)
  • Millis, Walter. The Martial Spirit: A Study of Our War with Spain (1931)
  • Morgan, H. Wayne, America's Road to Empire: The War with Spain and Overseas Expansion (1965)
  • Muller y Tejeiro, Jose. Combates y Capitulacion de Santiago de Cuba. Marques, Madrid: 1898. 208 p. English translation by US Navy Dept.
  • O'Toole, G. J. A. The Spanish War: An American Epic – 1898 (1984)
  • Paterson, Thomas G. (1996). "United States Intervention in Cuba, 1898: Interpretations of the Spanish-American-Cuban-Filipino War". The History Teacher. 29 (3): 341–61. doi:10.2307/494551. JSTOR 494551.
  • Peifer, Douglas Carl (2016) Choosing war: presidential decisions in the Maine, Lusitania, and Panay incidents. New York, NY: Oxford University Press. ISBN 978-0-19026-868-8
  • Pérez, Jr. Louis A. (1989), "The Meaning of the Maine: Causation and the Historiography of the Spanish–American War", The Pacific Historical Review, 58 (3): 293–22, doi:10.2307/3640268, JSTOR 3640268.
  • Pérez Jr. Louis A. The War of 1898: The United States and Cuba in History and Historiography University of North Carolina Press, 1998
  • Smith, Ephraim K. "William McKinley's Enduring Legacy: The Historiographical Debate on the Taking of the Philippine Islands," in James C. Bradford, ed., Crucible of Empire: The Spanish–American War and Its Aftermath (1993), pp. 205–49
  • Pratt, Julius W. The Expansionists of 1898 (1936)
  • Schoonover, Thomas. Uncle Sam's War of 1898 and the Origins of Globalization. (2003)
  • Smith, Joseph. The Spanish–American War: Conflict in the Caribbean and the Pacific (1994)
  • Stewart, Richard W. "Emergence to World Power 1898–1902" Ch. 15 เก็บถาวร มิถุนายน 8, 2010 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, in "American Military History, Volume I: The United States Army and the Forging of a Nation, 1775–1917" เก็บถาวร ธันวาคม 27, 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Center of Military History, United States Army. (2004), official US Army textbook
  • Tone, John Lawrence. War and Genocide in Cuba, 1895–1898 (2006)
  • US War Dept. Military Notes on Cuba. 2 vols. Washington, DC: GPO, 1898. online edition
  • US Army Center for Military History, Adjutant General's Office Statistical Exhibit of Strength of Volunteer Forces Called into Service During the War With Spain; with Losses From All Causes. US Army Center for Military History, Washington: Government Printing Office, 1899
  • Wheeler, Joseph. The Santiago Campaign, 1898. (1898). online edition
  • Zakaria, Fareed, From Wealth to Power: The Unusual Origins of America's World Role (1998)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

สื่อบันทึก

[แก้]

เอกสารอ้างอิง

[แก้]

หนังสือพิมพ์

[แก้]