ข้ามไปเนื้อหา

ภาษาอีบานัก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาอีบานัก
Ybanag, Ibanak
ประเทศที่มีการพูดฟิลิปปินส์
ภูมิภาคลูซอนเหนือ
ชาติพันธุ์ชาวอีบานัก
จำนวนผู้พูดไม่ทราบ (500,000 คน อ้างถึง1990)[1]
ตระกูลภาษา
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการภาษาประจำภูมิภาคในประเทศฟิลิปปินส์
ผู้วางระเบียบKomisyon sa Wikang Filipino
รหัสภาษา
ISO 639-3ibg
Linguasphere31-CCB-a
พื้นที่ที่มีผู้พูดภาษาอีบานักตามรายงานของ Ethnologue
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษาอีบานัก มีผู้พูด 500,000 คน ในฟิลิปปินส์ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดอีซาเบลา จากายัน โซลานา จาบากัน และอีลากัน รวมทั้งผู้อพยพไปอยู่ตะวันออกกลางและสหรัฐ ผู้พูดภาษานี้ ส่วนใหญ่จะพูดภาษาอีโลกาโน ที่เป็นภาษากลางของลูซอนภาคเหนือได้ด้วย คำว่า “อีบานัก” มาจาก “บันนัก” แปลว่าแม่น้ำ ใกล้เคียงกับภาษากัดดัง ภาษาอีตาวิส ภาษาอักตา ภาษาโยกัด และภาษามาลาเวก

อ้างอิง

[แก้]
  1. ภาษาอีบานัก ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
  • Dita, Shirley (2010), A Reference Grammar of Ibanag: Phonology, Morphology, & Syntax

อ่านเพิ่ม

[แก้]
  • Dita, Shirley N. (2011). "The Structure of Ibanag Nominals". Philippine Journal of Linguistics. Linguistic Society of the Philippines. 42: 41–57. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-31. สืบค้นเมื่อ 2022-01-16.
  • Moses Esteban. Editing Ibanag–Tagalog–English Ibanag–Tagalog–English Survey. Ibanag people's fo Benguet and the City Hall of Benguet(Ifugao)
  • Nepomuceno, Vicente (1919). Historia nac Cagayán. Manila: Tip. Linotype del Colegio de Sto. Tomás. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-08-07. สืบค้นเมื่อ 2022-01-16.
  • Salgado, Pedro V. (2002). Cagayan valley and eastern Cordillera, 1581-1898, Volume 1. Quezon City: Rex Commercial.