ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อวตาร (คอมพิวเตอร์)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
YURi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
[[ไฟล์:Wikipe-tan avatar.png|thumb|อวตารรูปตัวการ์ตูน]]
[[ไฟล์:Wikipe-tan avatar.png|thumb|อวตารรูปตัวการ์ตูน]]


'''อวตาร''' ({{lang-en|avatar}}) หมายถึง [[การแทนด้วยกราฟิก|กราฟิกที่ใช้แทนตน]] เช่น ภาพสองมิติหรือสามมิติที่บุคคลคนหนึ่งใช้แทนตนเองในการเล่น[[เกมวีดิทัศน์]] ในบัญชี[[สื่อสังคม]] หรือใน[[ลานประชาคมอินเทอร์เน็ต]]<ref>[[Lawrence Lessig|Lessig, Lawrence]]. ''Code and Other Laws of Cyberspace''. Basic Books, 2000. {{ISBN|0-465-03913-8}}</ref><ref>Fink, Jeri. ''Cyberseduction: Reality in the Age of Psychotechnology''. Prometheus Books, 1999. {{ISBN|1-57392-743-0}}</ref><ref>Blackwood, Kevin. ''Casino Gambling For Dummies''. For Dummies, 2006. p.284. {{ISBN|0-471-75286-X}}</ref>
'''อวตาร''' หรือ '''อวทาร์'''{{#tag:ref|การทับศัพท์ avatar ว่า "อวทาร์" ใช้เฉพาะเมื่อกล่าวถึงศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเท่านั้น<ref>{{cite web |title="อวทาร์" ไม่ใช่อวตาร์ ราชบัณฑิตยสภาเผย 12 ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ |url=https://mgronline.com/onlinesection/detail/9620000078752 |website=mgronline.com |date=18 สิงหาคม 2562 |accessdate=4 มิถุนายน 2564 |}}</ref>|group=nb}} ({{lang-en|avatar}}) หมายถึง [[การแทนด้วยกราฟิก|กราฟิกที่ใช้แทนตน]] เช่น ภาพสองมิติหรือสามมิติที่บุคคลคนหนึ่งใช้แทนตนเองในการเล่น[[เกมวีดิทัศน์]] ในบัญชี[[สื่อสังคม]] หรือใน[[ลานประชาคมอินเทอร์เน็ต]]<ref>[[Lawrence Lessig|Lessig, Lawrence]]. ''Code and Other Laws of Cyberspace''. Basic Books, 2000. {{ISBN|0-465-03913-8}}</ref><ref>Fink, Jeri. ''Cyberseduction: Reality in the Age of Psychotechnology''. Prometheus Books, 1999. {{ISBN|1-57392-743-0}}</ref><ref>Blackwood, Kevin. ''Casino Gambling For Dummies''. For Dummies, 2006. p.284. {{ISBN|0-471-75286-X}}</ref>


คำว่า "อวตาร" มาจากคำใน[[ภาษาสันสกฤต]]ว่า "อวตาร" ที่หมายถึง แนวคิดของ[[ศาสนาฮินดู]]ว่าด้วยการที่เทวดาแบ่งภาคลงมาเกิดในโลกมนุษย์ เช่น [[พระนารายณ์]]อวตารลงมาเป็นปลา เรียกว่า "[[มัตสยาวตาร|มัตสยา]]" เพื่อช่วย[[พระมนูไววัสวัต]]จากน้ำท่วมใหญ่ และเพื่อปราบอสูรหอยสังข์ชื่อ "[[สังขอสูร]]" มีการนำคำว่า "อวตาร" มาใช้ใน[[เกมคอมพิวเตอร์]]เป็นครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1979 นอกจากนี้ อวตารประเภทที่เป็นรูปสองมิตินั้น เดิมเรียกกันว่า "พิกคอน" (picon, มาจาก "picture" + "icon") แต่ปัจจุบันไม่นิยมใช้คำนี้กันแล้ว<ref>{{cite web|last=Kinzler|first=Steve|title=Picons|url=http://kinzler.com/picons/ftp/faq.html|work=Picons Archive|accessdate=24 May 2014}}</ref>
คำว่า "อวตาร" มาจากคำใน[[ภาษาสันสกฤต]]ว่า "อวตาร" ที่หมายถึง แนวคิดของ[[ศาสนาฮินดู]]ว่าด้วยการที่เทวดาแบ่งภาคลงมาเกิดในโลกมนุษย์ เช่น [[พระนารายณ์]]อวตารลงมาเป็นปลา เรียกว่า "[[มัตสยาวตาร|มัตสยา]]" เพื่อช่วย[[พระมนูไววัสวัต]]จากน้ำท่วมใหญ่ และเพื่อปราบอสูรหอยสังข์ชื่อ "[[สังขอสูร]]" มีการนำคำว่า "อวตาร" มาใช้ใน[[เกมคอมพิวเตอร์]]เป็นครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1979 นอกจากนี้ อวตารประเภทที่เป็นรูปสองมิตินั้น เดิมเรียกกันว่า "พิกคอน" (picon, มาจาก "picture" + "icon") แต่ปัจจุบันไม่นิยมใช้คำนี้กันแล้ว<ref>{{cite web|last=Kinzler|first=Steve|title=Picons|url=http://kinzler.com/picons/ftp/faq.html|work=Picons Archive|accessdate=24 May 2014}}</ref>

== เชิงอรรถ ==
{{รายการอ้างอิง|group=nb}}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:48, 4 มิถุนายน 2564

อวตารรูปตัวการ์ตูน

อวตาร หรือ อวทาร์[nb 1] (อังกฤษ: avatar) หมายถึง กราฟิกที่ใช้แทนตน เช่น ภาพสองมิติหรือสามมิติที่บุคคลคนหนึ่งใช้แทนตนเองในการเล่นเกมวีดิทัศน์ ในบัญชีสื่อสังคม หรือในลานประชาคมอินเทอร์เน็ต[2][3][4]

คำว่า "อวตาร" มาจากคำในภาษาสันสกฤตว่า "อวตาร" ที่หมายถึง แนวคิดของศาสนาฮินดูว่าด้วยการที่เทวดาแบ่งภาคลงมาเกิดในโลกมนุษย์ เช่น พระนารายณ์อวตารลงมาเป็นปลา เรียกว่า "มัตสยา" เพื่อช่วยพระมนูไววัสวัตจากน้ำท่วมใหญ่ และเพื่อปราบอสูรหอยสังข์ชื่อ "สังขอสูร" มีการนำคำว่า "อวตาร" มาใช้ในเกมคอมพิวเตอร์เป็นครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1979 นอกจากนี้ อวตารประเภทที่เป็นรูปสองมิตินั้น เดิมเรียกกันว่า "พิกคอน" (picon, มาจาก "picture" + "icon") แต่ปัจจุบันไม่นิยมใช้คำนี้กันแล้ว[5]

เชิงอรรถ

  1. การทับศัพท์ avatar ว่า "อวทาร์" ใช้เฉพาะเมื่อกล่าวถึงศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเท่านั้น[1]

อ้างอิง

  1. ""อวทาร์" ไม่ใช่อวตาร์ ราชบัณฑิตยสภาเผย 12 ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ". mgronline.com. 18 สิงหาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 4 มิถุนายน 2564. {{cite web}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |1= (help); ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. Lessig, Lawrence. Code and Other Laws of Cyberspace. Basic Books, 2000. ISBN 0-465-03913-8
  3. Fink, Jeri. Cyberseduction: Reality in the Age of Psychotechnology. Prometheus Books, 1999. ISBN 1-57392-743-0
  4. Blackwood, Kevin. Casino Gambling For Dummies. For Dummies, 2006. p.284. ISBN 0-471-75286-X
  5. Kinzler, Steve. "Picons". Picons Archive. สืบค้นเมื่อ 24 May 2014.