ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาแฆแลจ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kinkku Ananas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
GeonuchBot (คุย | ส่วนร่วม)
→‎top: บอต: นำแม่แบบออก, removed: {{รอการตรวจสอบ}}
บรรทัด 1: บรรทัด 1:

{{รอการตรวจสอบ}}
{{กล่องข้อมูล ภาษา
{{กล่องข้อมูล ภาษา
|name=ภาษาคาลาซ
|name=ภาษาคาลาซ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:59, 15 เมษายน 2564

ภาษาคาลาซ
ประเทศที่มีการพูดอิหร่าน
ภูมิภาคทางตะวันออกเฉียงเหนือของอารัก ใน จังหวัดมาร์กาซี อิหร่าน
จำนวนผู้พูด42,107 คน (2543)  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
เตอร์กิก
  • Arghu? Northern?
    • ภาษาคาลาซ
รหัสภาษา
ISO 639-2tut
ISO 639-3klj

ภาษาคาลาซ เป็นภาษาที่ใช้พูดในอัฟกานิสถานและอิหร่าน อยู่ในภาษากลุ่มเตอร์กิก มีผู้พูด 42,000 เมื่อ พ.ศ. 2543

สัทวิทยา

พยัญชนะ

หน่วยเสียงพยัญชนะ
  Labial consonant Alveolar consonant Palatal consonant หรือ
Postalveolar consonant
Velar consonant Uvular consonant Glottal consonant
Stop consonant และ
Affricate consonant
p b t d t͡ʃ d͡ʒ k ɡ q ɢ    
Fricative consonant f v s z ʃ ʒ x ɣ     h  
พยัญชนะนาสิก m n     ŋ        
Flap consonant     ɾ                
Lateral consonant     l                
Approximant consonant       j            

สระ

สระในภาษาคาลาซมีสามระดับคือ เสียงยาว (qn "เลือด"), เสียงกึ่งยาว(bʃ "หัว"), และเสียงสั้น(hat "ม้า"). บางสระจัดเป็นสระเช่นquo̯l "แขน".


ไวยากรณ์

นาม

โดยทั่วไปมีเครื่องหมายแสดงพหูพจน์และความเป็นเจ้าของ การกของนามได้แก่การกความเป็นเจ้าของ กรรมตรง กรรมรอง สถานที่ ablative เครื่องมือ และความเท่าเทียม รุปแบบของปัจจัยการกขึ้นกับการเปลี่ยนเสียงสระและพยัญชนะที่ตามมา ปัจจัยการกจะรวมกับปัจจัยแสดงความเป็นเจ้าของ ตารางต่อไปนี้ แสดงการลงท้ายของการกพื้นฐาน

การก ปัจจัย
ประธาน -
กรรมรอง -A, -KA
กรรมตรง -I, -NI
สถานที่ -čA
Ablative -dA
เครื่องมือ -lAn, -lA, -nA
Ablative -vāra


กริยา

คำกริยาผันตมรูปการกระทำ กาล จุดมุ่งหมายและรุปการปฏิเสธ กริยาจะประกอบด้วยรุปคำต่อไปนี้

รากศัพท์ + การกระทำ + ปฏิเสธ + กาล/จุดมุ่งหมาย + ข้อตกลง

การเรียงประโยค

เป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา คำคุณศัพท์นำหน้านาม

คำศัพท์

ส่วนใหญ่มาจากภาษากลุ่มเตอร์กิก แต่มีคำยืมจากภาษาเปอร์เซียมาก รวมทั้งศัพท์จากภาษากลุ่มเตอร์กิกที่อยู่ใกล้เคียง เช่น ภาษาอาเซอรี

ตัวเลข

ส่วนใหญามาจากศัพท์ของภาษากลุ่มเตอร์กิก ยกเว้น "80" และ "90" มาจากภาษาเปอร์เซีย

อ้างอิง

  • Doerfer, Gerhard (1971). Khalaj Materials. Bloomington: Indiana University Press.
  • Doerfer, Gerhard (1998). Grammatik des Chaladsch. Wiesbaden: Harrassowitz.
  • Doerfer, Gerhard & Tezcan, Semih (1994). Folklore-Texte der Chaladsch. Wiesbaden: Harrassowitz.
  • Johanson, Lars & Csató, Éva Ágnes (1998). The Turkic Languages. London: Routledge