ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การรู้หนังสือ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{สั้นมาก}}
[[ไฟล์:Literacy rate world.PNG|thumb|ภาพแผนที่แสดงการรู้หนังสือแบ่งตามประเทศ]]
[[ไฟล์:Literacy rate world.PNG|thumb|ภาพแผนที่แสดงการรู้หนังสือแบ่งตามประเทศ]]
'''การรู้หนังสือ''' ({{lang-en|literacy}}) คือ ความสามารถที่เข้าใจ[[ภาษา]]ในระดับที่เหมาะกับ[[การติดต่อสื่อสาร]] และโดยทั่วไปทำให้ทำงานได้สมบูรณ์ตามระดับ[[สังคม]]ต่างๆ
'''การรู้หนังสือ''' () คือ ความสามารถที่เข้าใจภาษาในระดับที่เหมาะกับการติดต่อสื่อสาร และโดยทั่วไปทำให้ทำงานได้สมบูรณ์ตามระดับสังคมต่างๆ


มาตรฐานสำหรับการรู้หนังสือ มีความหลากหลายระหว่างสังคม เช่น ทักษะทางคอมพิวเตอร์
มาตรฐานสำหรับการรู้หนังสือ มีความหลากหลายระหว่างสังคม เช่น ทักษะทางคอมพิวเตอร์
หรืออาจจะรวมถึงพื้นฐานทางตัวเลข มีผู้คนจำนวนมากที่ไม่สามารถอ่านตัวหนังสือได้ แต่สามารถอ่านตัวเลขได้ และบางส่วนอาจเคยเรียนรู้การใช้คอมพิวเตอร์ โดยที่ไม่รู้หนังสือมาก่อน แต่จะอาศัยการออกเสียง รูปภาพและส่วนประกอบกราฟิกในรูปแบบของ[[ดิจิทัล]] ซึ่งจะเห็นได้ว่า
หรืออาจจะรวมถึงพื้นฐานทางตัวเลข มีผู้คนจำนวนมากที่ไม่สามารถอ่านตัวหนังสือได้ แต่สามารถอ่านตัวเลขได้ และบางส่วนอาจเคยเรียนรู้การใช้คอมพิวเตอร์ โดยที่ไม่รู้หนังสือมาก่อน แต่จะอาศัยการออกเสียง รูปภาพและส่วนประกอบกราฟิกในรูปแบบของดิจิทัล ซึ่งจะเห็นได้ว่า
ไม่จำเป็นต้องอ่านออก เขียนได้ แต่เราก็สามารถรับรู้ได้จากวิธีที่หลากหลายตามแนวความคิดของ การรู้หนังสือ
ไม่จำเป็นต้องอ่านออก เขียนได้ แต่เราก็สามารถรับรู้ได้จากวิธีที่หลากหลายตามแนวความคิดของ การรู้หนังสือ


สถาบันการศึกษาของ[[แคว้นอังกฤษ|อังกฤษ]] มีการเพิ่มการแสดงแบบสมจริง ในรายการของการสื่อสาร เพื่อเป็นการยกระดับ การรู้หนังสือ
สถาบันการศึกษาของอังกฤษ มีการเพิ่มการแสดงแบบสมจริง ในรายการของการสื่อสาร เพื่อเป็นการยกระดับ การรู้หนังสือ
อีกระดับหนึ่ง อีกทั้งยังมีการวิจัยออกมาว่า อัตราความสามารถการอ่านออกและเขียนได้ มีอัตราเพิ่มขึ้นมากโดยเฉพาะในเมืองใหญ่
อีกระดับหนึ่ง อีกทั้งยังมีการวิจัยออกมาว่า อัตราความสามารถการอ่านออกและเขียนได้ มีอัตราเพิ่มขึ้นมากโดยเฉพาะในเมืองใหญ่
การรู้หนังสือ นั้นยังแยกกันตามความชำนาญทางเทคนิคและจุดประสงค์ของการอ่านและเขียน โดยอาจจะเกี่ยวกับ[[วัฒนธรรม]] การเมือง และประวัติศาสตร์ นิยามของความสามารถการอ่านออก เขียนได้ อาศัยหลักของ[[มโนคติวิทยา]]
การรู้หนังสือ นั้นยังแยกกันตามความชำนาญทางเทคนิคและจุดประสงค์ของการอ่านและเขียน โดยอาจจะเกี่ยวกับวัฒนธรรม การเมือง และประวัติศาสตร์ นิยามของความสามารถการอ่านออก เขียนได้ อาศัยหลักของมโนคติวิทยา


ในปัจจุบันนี้ จะเห็นว่าเราได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาของ การรู้หนังสือ มากขึ้น โดย การรู้หนังสือ แนวใหม่นั้นจะเน้นตั้งแต่การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อทำให้ประชากรบนโลกนี้ มีความรู้ ความสามารถตามวัย และยังส่งผลให้เรามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอีกด้วย
ในปัจจุบันนี้ จะเห็นว่าเราได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาของ การรู้หนังสือ มากขึ้น โดย การรู้หนังสือ แนวใหม่นั้นจะเน้นตั้งแต่การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อทำให้ประชากรบนโลกนี้ มีความรู้ ความสามารถตามวัย และยังส่งผลให้เรามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอีกด้วย
บรรทัด 17: บรรทัด 16:
[[หมวดหมู่:สังคม]]
[[หมวดหมู่:สังคม]]
[[หมวดหมู่:สังคมเศรษฐศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:สังคมเศรษฐศาสตร์]]
{{โครงภาษา}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:00, 24 มกราคม 2564

ภาพแผนที่แสดงการรู้หนังสือแบ่งตามประเทศ

การรู้หนังสือ () คือ ความสามารถที่เข้าใจภาษาในระดับที่เหมาะกับการติดต่อสื่อสาร และโดยทั่วไปทำให้ทำงานได้สมบูรณ์ตามระดับสังคมต่างๆ

มาตรฐานสำหรับการรู้หนังสือ มีความหลากหลายระหว่างสังคม เช่น ทักษะทางคอมพิวเตอร์ หรืออาจจะรวมถึงพื้นฐานทางตัวเลข มีผู้คนจำนวนมากที่ไม่สามารถอ่านตัวหนังสือได้ แต่สามารถอ่านตัวเลขได้ และบางส่วนอาจเคยเรียนรู้การใช้คอมพิวเตอร์ โดยที่ไม่รู้หนังสือมาก่อน แต่จะอาศัยการออกเสียง รูปภาพและส่วนประกอบกราฟิกในรูปแบบของดิจิทัล ซึ่งจะเห็นได้ว่า ไม่จำเป็นต้องอ่านออก เขียนได้ แต่เราก็สามารถรับรู้ได้จากวิธีที่หลากหลายตามแนวความคิดของ การรู้หนังสือ

สถาบันการศึกษาของอังกฤษ มีการเพิ่มการแสดงแบบสมจริง ในรายการของการสื่อสาร เพื่อเป็นการยกระดับ การรู้หนังสือ อีกระดับหนึ่ง อีกทั้งยังมีการวิจัยออกมาว่า อัตราความสามารถการอ่านออกและเขียนได้ มีอัตราเพิ่มขึ้นมากโดยเฉพาะในเมืองใหญ่ การรู้หนังสือ นั้นยังแยกกันตามความชำนาญทางเทคนิคและจุดประสงค์ของการอ่านและเขียน โดยอาจจะเกี่ยวกับวัฒนธรรม การเมือง และประวัติศาสตร์ นิยามของความสามารถการอ่านออก เขียนได้ อาศัยหลักของมโนคติวิทยา

ในปัจจุบันนี้ จะเห็นว่าเราได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาของ การรู้หนังสือ มากขึ้น โดย การรู้หนังสือ แนวใหม่นั้นจะเน้นตั้งแต่การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อทำให้ประชากรบนโลกนี้ มีความรู้ ความสามารถตามวัย และยังส่งผลให้เรามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอีกด้วย