ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้าเมฆิน คเนจร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 16: บรรทัด 16:


== พระประวัติ ==
== พระประวัติ ==
หม่อมเจ้าเมฆิน คเนจร ประสูติเมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2388<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร|ชื่อหนังสือ=พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี|URL=|จังหวัด=กรุงเทพ|พิมพ์ที่=สำนักพิมพ์บรรณกิจ|ปี= พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549|ISBN=974-221-818-8|หน้า=131|จำนวนหน้า=360}}</ref> เป็นพระโอรสใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นอมเรนทรบดินทร์]] เมื่อเจริญชันษาขึ้น ได้เข้ามารับราชการในกรมมหาดไทย
หม่อมเจ้าเมฆิน ประสูติเมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2388<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร|ชื่อหนังสือ=พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี|URL=|จังหวัด=กรุงเทพ|พิมพ์ที่=สำนักพิมพ์บรรณกิจ|ปี= พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549|ISBN=974-221-818-8|หน้า=131|จำนวนหน้า=360}}</ref> (แบบสากลคือ พ.ศ. 2389) เป็นพระโอรสใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นอมเรนทรบดินทร์]] เมื่อเจริญชันษาขึ้น ทรงรับราชการในกรมมหาดไทย


ต่อมาเมื่อชราได้ทรงกราบบังคมทูลลาออกจากราชการโดยมี[[หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร)]] เป็นผู้ดูแล ในปี พ.ศ. 2451 หม่อมอมรวงษ์วิจิตรถึงแก่กรรมในราชการ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2451/014/435_2.PDF ข่าวตาย [หม่อมอมรวงษ์วิจิตร์ (ม.ร.ว. ปฐม), หลวงวิจารณ์สมบัติ (เริก), พระยาภักดีภูธร (นิล)]], เล่ม 25, ตอน 14, 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2451, หน้า 435</ref><ref>ดำรงราชานุภาพ. คำนำ ใน ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 4 อำมาตย์เอก พระยาศรีสำรวจ (ชื่น ภัทรนาวิก) ม.ม. ท.ช. รัตน ว.ป.ร.4 พิมพ์แจกในงานศพ พัน ภัทรนาวิก ผู้มารดา เมื่อปีเถาะสัปตศก พ.ศ. 2458. โบราณคดีสโมสร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, 2458. หน้า ญ - ท.</ref> [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงพระราชทานเบี้ยหวัดพิเศษแก่หม่อมเจ้าเมฆิน ซึ่งหม่อมอมรวงศวิจิตรเคยเลี้ยงดูอยู่นั้น เพิ่มขึ้นอิกเป็นปีละ 400 บาท<ref name="ตำนานวังเก่า">{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง =ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา | ชื่อหนังสือ = ตำนานวังเก่า | URL = | จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ =สำนักพิมพ์แสงดาว | ปี = พ.ศ. 2553 | ISBN =978-616-508-214-3| จำนวนหน้า = 178| หน้า = 15}}</ref>
ต่อมาเมื่อชราภาพได้กราบบังคมทูลลาออกจากราชการโดยมี[[หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร)]] โอรส เป็นผู้ดูแล ในปี พ.ศ. 2451 หม่อมอมรวงษ์วิจิตรถึงแก่กรรมในราชการ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2451/014/435_2.PDF ข่าวตาย [หม่อมอมรวงษ์วิจิตร์ (ม.ร.ว. ปฐม), หลวงวิจารณ์สมบัติ (เริก), พระยาภักดีภูธร (นิล)]], เล่ม 25, ตอน 14, 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2451, หน้า 435</ref><ref>ดำรงราชานุภาพ. คำนำ ใน ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 4 อำมาตย์เอก พระยาศรีสำรวจ (ชื่น ภัทรนาวิก) ม.ม. ท.ช. รัตน ว.ป.ร.4 พิมพ์แจกในงานศพ พัน ภัทรนาวิก ผู้มารดา เมื่อปีเถาะสัปตศก พ.ศ. 2458. โบราณคดีสโมสร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, 2458. หน้า ญ - ท.</ref> [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงพระราชทานเบี้ยหวัดพิเศษแก่หม่อมเจ้าเมฆิน ซึ่งหม่อมอมรวงษ์วิจิตรเคยดูแลอยู่นั้น เพิ่มขึ้นอิกเป็นปีละ 400 บาท<ref name="ตำนานวังเก่า">{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง =ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา | ชื่อหนังสือ = ตำนานวังเก่า | URL = | จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ =สำนักพิมพ์แสงดาว | ปี = พ.ศ. 2553 | ISBN =978-616-508-214-3| จำนวนหน้า = 178| หน้า = 15}}</ref>


หม่อมเจ้าเมฆิน คเนจร สิ้นชีพิตักษัยเมื่อ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462
หม่อมเจ้าเมฆิน สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462 ขณะชันษา 73 ปี


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:54, 2 กันยายน 2563

หม่อมเจ้าเมฆิน คเนจร
หม่อมเจ้า ชั้น 3
ประสูติ9 มกราคม พ.ศ. 2389
สิ้นชีพิตักษัย21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462 (74 ปี)
พระบุตรหม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร)
ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นอมเรนทรบดินทร์

หม่อมเจ้าเมฆิน (9 มกราคม พ.ศ. 2389 — 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นอมเรนทรบดินทร์ และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระประวัติ

หม่อมเจ้าเมฆิน ประสูติเมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2388[1] (แบบสากลคือ พ.ศ. 2389) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นอมเรนทรบดินทร์ เมื่อเจริญชันษาขึ้น ทรงรับราชการในกรมมหาดไทย

ต่อมาเมื่อชราภาพได้กราบบังคมทูลลาออกจากราชการโดยมีหม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร) โอรส เป็นผู้ดูแล ในปี พ.ศ. 2451 หม่อมอมรวงษ์วิจิตรถึงแก่กรรมในราชการ[2][3] พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงพระราชทานเบี้ยหวัดพิเศษแก่หม่อมเจ้าเมฆิน ซึ่งหม่อมอมรวงษ์วิจิตรเคยดูแลอยู่นั้น เพิ่มขึ้นอิกเป็นปีละ 400 บาท[4]

หม่อมเจ้าเมฆิน สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462 ขณะชันษา 73 ปี

อ้างอิง

  1. ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร. พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549. 360 หน้า. หน้า 131. ISBN 974-221-818-8
  2. ราชกิจจานุเบกษา, ข่าวตาย [หม่อมอมรวงษ์วิจิตร์ (ม.ร.ว. ปฐม), หลวงวิจารณ์สมบัติ (เริก), พระยาภักดีภูธร (นิล)], เล่ม 25, ตอน 14, 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2451, หน้า 435
  3. ดำรงราชานุภาพ. คำนำ ใน ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 4 อำมาตย์เอก พระยาศรีสำรวจ (ชื่น ภัทรนาวิก) ม.ม. ท.ช. รัตน ว.ป.ร.4 พิมพ์แจกในงานศพ พัน ภัทรนาวิก ผู้มารดา เมื่อปีเถาะสัปตศก พ.ศ. 2458. โบราณคดีสโมสร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, 2458. หน้า ญ - ท.
  4. ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. ตำนานวังเก่า. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แสงดาว, พ.ศ. 2553. 178 หน้า. หน้า 15. ISBN 978-616-508-214-3