ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีย่อย:แพทยศาสตร์/บทความแนะนำ6"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ภาพ:Internal and external hemorrhoids.png|right|150px|แผนภาพโรคริดสีดวงทวารทั้งแบบภายในและภายนอก]]
[[ภาพ:Leptospira scanning micrograph.jpg|right|180px|เชื้อเล็บโตสไปร่าขยายด้วยกล้องจุลทัศน์อีเล็กตรอน]]

'''[[โรคเล็ปโตสไปโรซิส]]''' (Leptospirosis), '''โรคฉี่หนู''' หรือ '''ไข้ฉี่หนู''' เป็น[[โรคติดต่อ]]จากสัตว์สู่คน มีพาหะสัตว์หลายชนิด เช่น [[สุนัข]] หนู [[โค]] [[กระบือ]] [[สุกร]] [[แพะ]] [[แกะ]] สัตว์เลี้ยงในบ้าน เป็นต้น แต่พบมากใน [[หนู]] มีสาเหตุการติดเชื้อ[[แบคทีเรีย]]รูปเกลียว ชื่อ ''[[เล็บโตสไปร่า]] อินเทอโรแกนส์'' (''Leptospira interrogans'') ส่วนใหญ่ติดต่อกันโดยการสัมผัสกับ[[ปัสสาวะ]] [[เลือด]] หรือ[[เนื้อเยื่อ]]ของสัตว์ที่มีการติดเชื้อโดยตรง หรือสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมที่มีการปนเปื้อนของเชื้อ อาการและอาการแสดงของโรคเล็ปโตสไปโรซิสนั้นมีได้ตั้งแต่มีอาการเล็กน้อยจนถึงมีอาการรุนแรงถึงแก่ชีวิต <small>[[โรคเล็ปโตสไปโรซิส|อ่านต่อ...]]</small>
'''[[โรคริดสีดวงทวาร]]''' (hemorrhoids หรือ haemorrhoids) เป็นโครงสร้าง[[หลอดเลือด]]ในช่อง[[ทวารหนัก]] ในสภาพปกติจะมีลักษณะเป็นนวมและช่วยในการกลั้น[[อุจจาระ]] เมื่อบวมหรือ[[อักเสบ]]จะมี[[พยาธิสภาพ]]เป็น '''หัวริดสีดวง''' อาการของโรคริดสีดวงทวารขึ้นอยู่กับชนิดที่เป็น ริดสีดวงทวารแบบภายในมักจะ[[เลือด]]ออกเป็นสีแดงสดโดยไม่[[ความเจ็บปวด|เจ็บ]]เมื่อ[[ถ่ายอุจจาระ]] ขณะที่ริดสีดวงทวารแบบภายนอกบ่อยครั้งจะเจ็บและบวมที่บริเวณ[[ทวารหนัก]] และถ้าเลือดออกก็จะสีคล้ำกว่า อาการบ่อยครั้งจะดีขึ้นหลังจาก 2-3 วัน แต่แบบภายนอกอาจจะเหลือติ่งหนัง (acrochordon) แม้หลังจากอาการหายแล้ว แม้ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดของโรคริดสีดวงทวาร แต่ก็เชื่อว่าปัจจัยที่เพิ่มแรงดันในท้องหลายอย่างมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งท้องผูก [[ท้องร่วง]] และนั่งถ่ายเป็นเวลานาน <small>[[โรคริดสีดวงทวาร|อ่านต่อ...]]</small>

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 14:57, 22 กรกฎาคม 2563

แผนภาพโรคริดสีดวงทวารทั้งแบบภายในและภายนอก
แผนภาพโรคริดสีดวงทวารทั้งแบบภายในและภายนอก

โรคริดสีดวงทวาร (hemorrhoids หรือ haemorrhoids) เป็นโครงสร้างหลอดเลือดในช่องทวารหนัก ในสภาพปกติจะมีลักษณะเป็นนวมและช่วยในการกลั้นอุจจาระ เมื่อบวมหรืออักเสบจะมีพยาธิสภาพเป็น หัวริดสีดวง อาการของโรคริดสีดวงทวารขึ้นอยู่กับชนิดที่เป็น ริดสีดวงทวารแบบภายในมักจะเลือดออกเป็นสีแดงสดโดยไม่เจ็บเมื่อถ่ายอุจจาระ ขณะที่ริดสีดวงทวารแบบภายนอกบ่อยครั้งจะเจ็บและบวมที่บริเวณทวารหนัก และถ้าเลือดออกก็จะสีคล้ำกว่า อาการบ่อยครั้งจะดีขึ้นหลังจาก 2-3 วัน แต่แบบภายนอกอาจจะเหลือติ่งหนัง (acrochordon) แม้หลังจากอาการหายแล้ว แม้ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดของโรคริดสีดวงทวาร แต่ก็เชื่อว่าปัจจัยที่เพิ่มแรงดันในท้องหลายอย่างมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งท้องผูก ท้องร่วง และนั่งถ่ายเป็นเวลานาน อ่านต่อ...