ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุงก้นปล่อง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Teetaweepo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Teetaweepo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
ลักษณะเด่นประจำสกุลที่ใช้จำแนกได้ง่ายคือสังเกตจาก ท่าขณะดูดเลือดที่กระดกส่วนท้อง เป็นมุมสูงกว่ายุงสกุลอื่น
ลักษณะเด่นประจำสกุลที่ใช้จำแนกได้ง่ายคือสังเกตจาก ท่าขณะดูดเลือดที่กระดกส่วนท้อง เป็นมุมสูงกว่ายุงสกุลอื่น


== การค้นพบ การจำแนก และบทบาทในการระบาดของโรค ==
== การค้นพบ การจำแนก และบทบาทในการระบาดของโรค ==
โยฮันน์ วิลเฮล์ม เมเกน นักกีฏวิทยาชาวเยอรมัน พรรณนาและตั้งชื่อสกุลครั้งแรกในปี ค.ศ. 1818 โดยมาจากภาษากรีกโบราณ <ref>Meigen, J. W. (1818). Systematische Beschreibung der Bekannten Europäischen Zweiflügeligen Insekten Vol. 1. Forstmann, Aachen, 332 pp.</ref>
โยฮันน์ วิลเฮล์ม เมเกน นักกีฏวิทยาชาวเยอรมัน พรรณนาและตั้งชื่อสกุลครั้งแรกในปี ค.ศ. 1818 โดยมาจากภาษากรีกโบราณ ''ἀνωφελής'' (anōphelḗs) แปลว่า 'ไร้ประโยชน์' <ref>Meigen, J. W. (1818). Systematische Beschreibung der Bekannten Europäischen Zweiflügeligen Insekten Vol. 1. Forstmann, Aachen, 332 pp.</ref>


ทั่วโลกมีสกุลยุงก้นปล่องมากกว่า 460 สปีชีส์ โดยมากกว่า 100 สปีชีส์ที่เป็นพาหะแพร่ระบาด ของโปรโตซัวปรสิตสกุล ''[[พลาสโมเดียม]]'' สาเหตุของโรค[[มาลาเรีย]]ในมนุษย์ แต่มีเพียง 30–40 ชนิดที่เป็นพาหะหลักที่พบได้บ่อยที่สุด <ref>Walton et al. 2007</ref> <br/>
ทั่วโลกมีสกุลยุงก้นปล่องมากกว่า 460 สปีชีส์ โดยมากกว่า 100 สปีชีส์ที่เป็นพาหะแพร่ระบาด ของโปรโตซัวปรสิตสกุล ''[[พลาสโมเดียม]]'' สาเหตุของโรค[[มาลาเรีย]]ในมนุษย์ แต่มีเพียง 30–40 ชนิดที่เป็นพาหะหลักที่พบได้บ่อยที่สุด <ref>Walton et al. 2007</ref> <br/>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:31, 18 มกราคม 2563

Anopheles หรือยุงก้นปล่อง เป็นสกุลของยุงที่มีบทบาทเป็นพาหะของโรคมาลาเรีย, โรคเท้าช้าง และอีกหลายโรค

ลักษณะ

ลักษณะเด่นประจำสกุลที่ใช้จำแนกได้ง่ายคือสังเกตจาก ท่าขณะดูดเลือดที่กระดกส่วนท้อง เป็นมุมสูงกว่ายุงสกุลอื่น

การค้นพบ การจำแนก และบทบาทในการระบาดของโรค

โยฮันน์ วิลเฮล์ม เมเกน นักกีฏวิทยาชาวเยอรมัน พรรณนาและตั้งชื่อสกุลครั้งแรกในปี ค.ศ. 1818 โดยมาจากภาษากรีกโบราณ ἀνωφελής (anōphelḗs) แปลว่า 'ไร้ประโยชน์' [1]

ทั่วโลกมีสกุลยุงก้นปล่องมากกว่า 460 สปีชีส์ โดยมากกว่า 100 สปีชีส์ที่เป็นพาหะแพร่ระบาด ของโปรโตซัวปรสิตสกุล พลาสโมเดียม สาเหตุของโรคมาลาเรียในมนุษย์ แต่มีเพียง 30–40 ชนิดที่เป็นพาหะหลักที่พบได้บ่อยที่สุด [2]
ในประเทศไทย มีรายงานพบยุงก้นปล่อง 72 สปีชีส์ เป็นพาหะหลัก 3 สปีชีส์ ได้แก่ Anopheles minimus, Anopheles dirus และ Anopheles maculatus [3]
ขณะที่ Anopheles gambiae เป็นสปีชีส์ที่รู้จักกันดีที่สุดของโลก ในฐานะพาหะของ พลาสโมเดียมสปีชีส์ที่อันตรายที่สุดคือ Plasmodium falciparum ที่แพร่ระบาดในทวีปแอฟริกา

ยุงก้นปล่องบางสปีชีส์ เป็นพาหะแพร่ระบาดปรสิต Wuchereria bancrofti และ Brugia malayi สาเหตุของโรคเท้าช้าง (filariasis)
และพาหะ โรตหัวใจในสุนัข (Dirofilaria immitis)
และพาหะไวรัสก่อโรค ไข้ O'nyong'nyong ซึ่งมีนัยสัมพันธ์เนื้องอกในสมองกับมาลาเรีย [4]

แม้ยุงในสกุลอื่น (Aedes, Culex, Culiseta, Haemagogus และ Ochlerotatus) เป็นพาหะของโรคร่วมกัน แต่ไม่มีสกุลใดเป็นพาหะของมาลาเรีย

วัวัฒนาการ

ขั้นตอนวัฏจักรชีวิต

อ้างอิง

  1. Meigen, J. W. (1818). Systematische Beschreibung der Bekannten Europäischen Zweiflügeligen Insekten Vol. 1. Forstmann, Aachen, 332 pp.
  2. Walton et al. 2007
  3. Anopheles, Asian, and Rattanarithikul 2016
  4. Steven Lehrer (2010). "Anopheles mosquito transmission of brain tumor" (PDF). Medical Hypotheses. 74 (1): 167–168. doi:10.1016/j.mehy.2009.07.005. PMID 19656635.