ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้าสถิตย์เสถียร สุประดิษฐ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kritsnp (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
'''หม่อมเจ้าสถิตย์เสถียร สุประดิษฐ์''' (30 มกราคม พ.ศ. 2392 - 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473) เป็นพระโอรสใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุประดิษฐ์ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร]] และเป็นพระนัดดาใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
'''หม่อมเจ้าสถิตย์เสถียร สุประดิษฐ์''' (30 มกราคม พ.ศ. 2392 - 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473) เป็นพระโอรสใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุประดิษฐ์ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร]] และเป็นพระนัดดาใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]


หม่อมราชวงศ์สถิตย์เสถียร สุประดิษฐ์ สมภพเมื่อ 30 มกราคม พ.ศ. 2392 (ปัจจุบันคือ พ.ศ. 2393) ที่วังริมคลองบางลำพูฝั่งเหนือ ในสมัยรัชกาลที่ 3 ขณะนั้น พระบิดายังเป็น หม่อมเจ้าสุประดิษฐ์ โอรสในเจ้าฟ้ามงกุฎ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 จึงได้เป็น หม่อมเจ้า ชั้นหลานหลวง เมื่อท่านเจริญพระชันษาก็ได้เข้ารับราชการในกรมพระคลังมหาสมบัติ<ref>{{อ้างหนังสือ||ผู้แต่ง=สอน สุประดิษฐ์, หม่อมราชวงศ์||ชื่อหนังสือ=หนังสือที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพหม่อมเจ้าสถิตย์เสถียร สุประดิษฐ์||URL=||จังหวัด=กรุงเทพ||พิมพ์ที่=กรมศิลปากร||ปี= พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2473||ISBN=||หน้า= 12||จำนวนหน้า=73}}</ref>ซึ่งเป็นกรมในกำกับของ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร]] พระบิดาของพระองค์ และด้วยเหตุที่เป็นพระโอรสพระองค์ใหญ่ในกรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงได้พระราชทาน[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า]] ชั้น[[ตติยจุลจอมเกล้า]] ให้สืบราชตระกูลของกรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร ซึ่งต่อมาคือ[[:หมวดหมู่:ราชสกุลสุประดิษฐ์|ราชสกุลสุประดิษฐ์]]
หม่อมราชวงศ์สถิตย์เสถียร สุประดิษฐ์ สมภพเมื่อ 30 มกราคม พ.ศ. 2392 (ปัจจุบันคือ พ.ศ. 2393) ที่วังริมคลองบางลำพูฝั่งเหนือ ในสมัยรัชกาลที่ 3 ขณะนั้น พระบิดายังเป็น หม่อมเจ้าสุประดิษฐ์ โอรสในเจ้าฟ้ามงกุฎ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 จึงได้เป็น หม่อมเจ้า ชั้นหลานหลวง เมื่อท่านเจริญพระชันษาก็ได้เข้ารับราชการในกรมพระคลังมหาสมบัติ<ref>{{อ้างหนังสือ||ผู้แต่ง=สอน สุประดิษฐ์, หม่อมราชวงศ์||ชื่อหนังสือ=หนังสือที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพหม่อมเจ้าสถิตย์เสถียร สุประดิษฐ์||URL=||จังหวัด=กรุงเทพ||พิมพ์ที่=กรมศิลปากร||ปี= พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2473||ISBN=||หน้า= 12||จำนวนหน้า=73}}</ref>ซึ่งเป็นกรมในกำกับของ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร]] พระบิดาของพระองค์ และด้วยเหตุที่เป็นพระโอรสพระองค์ใหญ่ในกรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงได้พระราชทาน[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า]] ชั้น[[ตติยจุลจอมเกล้า]] ให้สืบราชตระกูลของกรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร ซึ่งต่อมาคือ[[:หมวดหมู่:ราชสกุลสุประดิษฐ์|ราชสกุลสุประดิษฐ์]] ทรงเสกสมรสกับหม่อมเลื่อม สุประดิษฐ์ ณ อยุธยา มีโอรสและธิดา 3 คน ดังนี้

* หม่อมราชวงศ์หญิงทิพาภรณ์ สุประดิษฐ์
* หม่อมราชวงศ์ฉวีวรรณ สุประดิษฐ์
* หม่อมราชวงศ์อนุสรณ์ สุประดิษฐ์


หม่อมเจ้าสถิตย์เสถียร สุประดิษฐ์ สิ้นชีพิตักษัยเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 (ปัจจุบันคือ พ.ศ. 2474) พระชันษา 82 ปี<ref>{{อ้างหนังสือ||ผู้แต่ง=ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร||ชื่อหนังสือ=พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี||URL=||จังหวัด=กรุงเทพ||พิมพ์ที่=สำนักพิมพ์บรรณกิจ||ปี= พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549||ISBN=974-221-818-8||หน้า=หน้าที่||จำนวนหน้า=360}}</ref>
หม่อมเจ้าสถิตย์เสถียร สุประดิษฐ์ สิ้นชีพิตักษัยเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 (ปัจจุบันคือ พ.ศ. 2474) พระชันษา 82 ปี<ref>{{อ้างหนังสือ||ผู้แต่ง=ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร||ชื่อหนังสือ=พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี||URL=||จังหวัด=กรุงเทพ||พิมพ์ที่=สำนักพิมพ์บรรณกิจ||ปี= พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549||ISBN=974-221-818-8||หน้า=หน้าที่||จำนวนหน้า=360}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:28, 2 กันยายน 2562

หม่อมเจ้าสถิตย์เสถียร สุประดิษฐ์
ประสูติ30 มกราคม พ.ศ. 2393
สิ้นชีพิตักษัย6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2474 (81 ปี)
ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร

หม่อมเจ้าสถิตย์เสถียร สุประดิษฐ์ (30 มกราคม พ.ศ. 2392 - 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุประดิษฐ์ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

หม่อมราชวงศ์สถิตย์เสถียร สุประดิษฐ์ สมภพเมื่อ 30 มกราคม พ.ศ. 2392 (ปัจจุบันคือ พ.ศ. 2393) ที่วังริมคลองบางลำพูฝั่งเหนือ ในสมัยรัชกาลที่ 3 ขณะนั้น พระบิดายังเป็น หม่อมเจ้าสุประดิษฐ์ โอรสในเจ้าฟ้ามงกุฎ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 จึงได้เป็น หม่อมเจ้า ชั้นหลานหลวง เมื่อท่านเจริญพระชันษาก็ได้เข้ารับราชการในกรมพระคลังมหาสมบัติ[1]ซึ่งเป็นกรมในกำกับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร พระบิดาของพระองค์ และด้วยเหตุที่เป็นพระโอรสพระองค์ใหญ่ในกรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงได้พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นตติยจุลจอมเกล้า ให้สืบราชตระกูลของกรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร ซึ่งต่อมาคือราชสกุลสุประดิษฐ์ ทรงเสกสมรสกับหม่อมเลื่อม สุประดิษฐ์ ณ อยุธยา มีโอรสและธิดา 3 คน ดังนี้

  • หม่อมราชวงศ์หญิงทิพาภรณ์ สุประดิษฐ์
  • หม่อมราชวงศ์ฉวีวรรณ สุประดิษฐ์
  • หม่อมราชวงศ์อนุสรณ์ สุประดิษฐ์

หม่อมเจ้าสถิตย์เสถียร สุประดิษฐ์ สิ้นชีพิตักษัยเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 (ปัจจุบันคือ พ.ศ. 2474) พระชันษา 82 ปี[2]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. สอน สุประดิษฐ์, หม่อมราชวงศ์. หนังสือที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพหม่อมเจ้าสถิตย์เสถียร สุประดิษฐ์. กรุงเทพ : กรมศิลปากร, พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2473. 73 หน้า. หน้า 12.
  2. ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร. พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549. 360 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-221-818-8
  3. 3.0 3.1 โรงเรียนมหาดเล็ก. บาญชีพระบรมวงษานุวงษ์ฝ่ายน่าฝ่ายใน ศก 128. กรุงเทพ : โรงพิมพ์สามมิตร, พ.ศ. 2452. 70 หน้า. หน้า 15.