ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หนังกำพร้า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Allaboutfruit (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:


== ชั้น ==
== ชั้น ==
หนังกำพร้าแบ่งออกเป็นหลายๆ ชั้น โดยเซลล์ถูกแบ่งตัวแบบ[[ไมโทซิส]]จากเซลล์ชั้นในสุด เซลล์ที่สร้างใหม่จะเคลื่อนที่ขึ้นมาเป็นชั้นภายนอก และมีการเปลี่ยนรูปร่างและองค์ประกอบ โดยจะมีการสะสม[[คีราติน]]มากขึ้น เมื่อชั้นเซลล์ขึ้นมาจนถึงชั้นบนสุด เรียกว่าชั้น สตราตัม คอร์เนียม (stratum corneum) ชั้นของเซลล์จะหลุดลอกออกเป็น[https://www.skinphilic.com/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1/%e2%80%9c%e0%b8%82%e0%b8%b5%e0%b9%89%e0%b9%84%e0%b8%84%e0%b8%a5%e2%80%9d-%e0%b8%95%e0%b8%b1%e0%b8%a7%e0%b8%8a%e0%b8%b5%e0%b9%89%e0%b8%a7%e0%b8%b1%e0%b8%94%e0%b8%9c%e0%b8%b4%e0%b8%a7%e0%b8%aa%e0%b8%a7%e0%b8%a2%e0%b8%aa%e0%b8%b8%e0%b8%82%e0%b8%a0%e0%b8%b2%e0%b8%9e%e0%b8%94%e0%b8%b5-%e0%b8%a3%e0%b8%b9%e0%b9%89%e0%b9%81%e0%b8%a5%e0%b9%89%e0%b8%a7%e0%b8%95%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b8%9a%e0%b8%ad%e0%b8%81%e0%b8%95%e0%b9%88%e0%b8%ad/ ขี้ไคลหรือเรียกว่า desquamate] กระบวนการนี้เรียกว่า ''คีราติไนเซชัน (keratinization) '' ซึ่งจะเกิดขึ้นภายในระยะเวลา 1 สัปดาห์ ชั้นนอกสุดของหนังกำพร้าประกอบด้วยชั้นเซลล์ที่ตายแล้วถึง 25 - 30 ชั้น
หนังกำพร้าแบ่งออกเป็นหลายๆ ชั้น โดยเซลล์ถูกแบ่งตัวแบบ[[ไมโทซิส]]จากเซลล์ชั้นในสุด เซลล์ที่สร้างใหม่จะเคลื่อนที่ขึ้นมาเป็นชั้นภายนอก และมีการเปลี่ยนรูปร่างและองค์ประกอบ โดยจะมีการสะสม[[คีราติน]]มากขึ้น เมื่อชั้นเซลล์ขึ้นมาจนถึงชั้นบนสุด เรียกว่าชั้น สตราตัม คอร์เนียม (stratum corneum) ชั้นของเซลล์จะหลุดลอกออกเป็นขี้ไคลหรือเรียกว่า desquamate กระบวนการนี้เรียกว่า ''คีราติไนเซชัน (keratinization) '' ซึ่งจะเกิดขึ้นภายในระยะเวลา 1 สัปดาห์ ชั้นนอกสุดของหนังกำพร้าประกอบด้วยชั้นเซลล์ที่ตายแล้วถึง 25 - 30 ชั้น


== ชั้นย่อย ==
== ชั้นย่อย ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:08, 25 กรกฎาคม 2562

ภาพตัดขวางของผิวหนัง

หนังกำพร้า (อังกฤษ: Epidermis) เป็นบริเวณชั้นนอกสุดของผิวหนัง ทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้น้ำซึมเข้าหรือออกจากร่างกาย และห่อหุ้มร่างกาย ประกอบด้วยเซลล์เนื้อเยื่อบุผิวประเภทสแตรทิฟายด์ สแควมัส (stratified squamous epithelium) รองรับด้วยเบซัล ลามินา (basal lamina)

องค์ประกอบ

หนังกำพร้าไม่มีหลอดเลือด แต่ได้รับสารอาหารและถ่ายเทของเสียโดยการแพร่ผ่านหนังแท้ เซลล์องค์ประกอบส่วนใหญ่ของหนังกำพร้าคือ คีราติโนไซต์ (keratinocytes) , เมลาโนไซต์ (melanocytes) , เซลล์แลงเกอร์ฮานส์ (Langerhans cells) และเซลล์เมอร์เคลส์ (Merkels cells)

ชั้น

หนังกำพร้าแบ่งออกเป็นหลายๆ ชั้น โดยเซลล์ถูกแบ่งตัวแบบไมโทซิสจากเซลล์ชั้นในสุด เซลล์ที่สร้างใหม่จะเคลื่อนที่ขึ้นมาเป็นชั้นภายนอก และมีการเปลี่ยนรูปร่างและองค์ประกอบ โดยจะมีการสะสมคีราตินมากขึ้น เมื่อชั้นเซลล์ขึ้นมาจนถึงชั้นบนสุด เรียกว่าชั้น สตราตัม คอร์เนียม (stratum corneum) ชั้นของเซลล์จะหลุดลอกออกเป็นขี้ไคลหรือเรียกว่า desquamate กระบวนการนี้เรียกว่า คีราติไนเซชัน (keratinization) ซึ่งจะเกิดขึ้นภายในระยะเวลา 1 สัปดาห์ ชั้นนอกสุดของหนังกำพร้าประกอบด้วยชั้นเซลล์ที่ตายแล้วถึง 25 - 30 ชั้น

ชั้นย่อย

หนังกำพร้าสามารถแบ่งออกได้เป็นชั้นย่อย 5 ชั้น หรือเรียกว่า สตราตา เรียงจากชั้นนอกสุดไปยังชั่นในสุด

ภาพอื่นๆ

แหล่งข้อมูลอื่นๆ