ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปากแหว่งเพดานโหว่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล โรค
| Name = ปากแหว่งเพดานโหว่<br /> (Cleft lip and palate)
| Image = 13900470 3PREOPERATION0.jpg
| Caption =
| DiseasesDB = 29604
| DiseasesDB_mult = {{DiseasesDB2|29414}}
| ICD10 = {{ICD10|Q|35||q|35}}-{{ICD10|Q|37||q|35}}
| ICD9 = {{ICD9|749}}
| ICDO =
| OMIM =
| MedlinePlus =
| eMedicineSubj = ped
| eMedicineTopic = 2679
| MeshID =
}}

'''ปากแหว่ง''' ({{lang-en|cleft lip}}; {{lang-la|cheiloschisis}}) และ'''เพดานโหว่''' ({{lang-en|cleft palate}}; {{lang-la|palatoschisis}}) หรือมักเรียกรวมกันว่า'''ปากแหว่งเพดานโหว่''' เป็น[[ความผิดปกติแต่กำเนิด]]ของการเจริญของใบหน้าระหว่าง[[การตั้งครรภ์]] การรักษาผู้ป่วยที่พิการปากแหว่งเพดานโหว่ทำโดย[[การผ่าตัด]]ทันทีหลังคลอด อัตราผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่เกิดราว 1 ในทารกแรกเกิด 600-800 คน
'''ปากแหว่ง''' ({{lang-en|cleft lip}}; {{lang-la|cheiloschisis}}) และ'''เพดานโหว่''' ({{lang-en|cleft palate}}; {{lang-la|palatoschisis}}) หรือมักเรียกรวมกันว่า'''ปากแหว่งเพดานโหว่''' เป็น[[ความผิดปกติแต่กำเนิด]]ของการเจริญของใบหน้าระหว่าง[[การตั้งครรภ์]] การรักษาผู้ป่วยที่พิการปากแหว่งเพดานโหว่ทำโดย[[การผ่าตัด]]ทันทีหลังคลอด อัตราผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่เกิดราว 1 ในทารกแรกเกิด 600-800 คน


บรรทัด 20: บรรทัด 4:
ถ้ารอยแยกนั้นไม่ถึงส่วนเพดานปาก จะเรียกความผิดปกตินี้ว่า '''ปากแหว่ง''' หากเกิดที่ด้านบนของริมฝีปากในลักษณะช่องว่างเล็กๆ หรือเว้าเล็กน้อยเรียกว่า ปากแหว่งไม่สมบูรณ์ หรือปากแหว่งบางส่วน (partial or incomplete cleft) แต่หากรอยแยกนี้ต่อเนื่องไปถึงจมูกเรียกว่า ปากแหว่งสมบูรณ์ (complete cleft) ปากแหว่งอาจเกิดข้างเดียวหรือสองข้างก็ได้ ปากแหว่งมีสาเหตุจากการเชื่อมของ[[ขากรรไกรบน]]และ[[ส่วนยื่นจมูกด้านใกล้กลาง]] (medial nasal processes) เพื่อเป็น[[เพดานปากปฐมภูมิ]] (primary palate) ไม่สมบูรณ์
ถ้ารอยแยกนั้นไม่ถึงส่วนเพดานปาก จะเรียกความผิดปกตินี้ว่า '''ปากแหว่ง''' หากเกิดที่ด้านบนของริมฝีปากในลักษณะช่องว่างเล็กๆ หรือเว้าเล็กน้อยเรียกว่า ปากแหว่งไม่สมบูรณ์ หรือปากแหว่งบางส่วน (partial or incomplete cleft) แต่หากรอยแยกนี้ต่อเนื่องไปถึงจมูกเรียกว่า ปากแหว่งสมบูรณ์ (complete cleft) ปากแหว่งอาจเกิดข้างเดียวหรือสองข้างก็ได้ ปากแหว่งมีสาเหตุจากการเชื่อมของ[[ขากรรไกรบน]]และ[[ส่วนยื่นจมูกด้านใกล้กลาง]] (medial nasal processes) เพื่อเป็น[[เพดานปากปฐมภูมิ]] (primary palate) ไม่สมบูรณ์


<center>
<center></center>
<gallery>
ไฟล์:CleftLip1.svg|ปากแหว่งข้างเดียวไม่สมบูรณ์ (Unilateral incomplete)
ไฟล์:Cleftlip2.svg|ปากแหว่งข้างเดียวสมบูรณ์ (Unilateral complete)
ไฟล์:CleftLip3.png|ปากแหว่งสองข้างสมบูรณ์ (Bilateral complete)
</gallery>
</center>


ปากแหว่งรูปแบบหนึ่งเรียกว่า '''microform cleft''' ซึ่งมีความรุนแรงน้อยกว่า มีลักษณะเป็นรอยเล็กๆ บนริมฝีปากหรือมีลักษณะคล้ายแผลเป็นจากริมฝีปากไปยังจมูก ในบางราย[[กล้ามเนื้อหูรูดปาก]]ใต้แผลเป็นนั้นอาจผิดปกติซึ่งต้องได้รับการผ่าตัด ทารกที่เกิดมามีความผิดปกติดังกล่าวจำเป็นต้องได้รับการประเมินความรุนแรงจากแพทย์ด้านใบหน้าและปากทันที
ปากแหว่งรูปแบบหนึ่งเรียกว่า '''microform cleft''' ซึ่งมีความรุนแรงน้อยกว่า มีลักษณะเป็นรอยเล็กๆ บนริมฝีปากหรือมีลักษณะคล้ายแผลเป็นจากริมฝีปากไปยังจมูก ในบางราย[[กล้ามเนื้อหูรูดปาก]]ใต้แผลเป็นนั้นอาจผิดปกติซึ่งต้องได้รับการผ่าตัด ทารกที่เกิดมามีความผิดปกติดังกล่าวจำเป็นต้องได้รับการประเมินความรุนแรงจากแพทย์ด้านใบหน้าและปากทันที


<center>
<center></center>
<gallery>
ไฟล์:Cleftbefore.jpg|เด็กชายอายุ 3 เดือนปากแหว่งข้างเดียวไม่สมบูรณ์ ก่อนได้รับการผ่าตัด
ไฟล์:Cleftafter.jpg|เด็กชายคนเดียวกัน 1 เดือนหลังจากผ่าตัด
ไฟล์:Cleftafter2years.jpg|เด็กชายคนเดียวกันอายุ 1 ปี 5 เดือน สังเกตว่าแผลเป็นจะดูจางลงตามอายุ
</gallery>
</center>


<center>
<center></center>
<gallery>
ไฟล์:13900470 3PREOPERATION0.jpg|เด็กหญิงอายุ 6 เดือนปากแหว่งข้างเดียวสมบูรณ์ ก่อนได้รับการผ่าตัด
ไฟล์:10-month-old girl showing scar from facial reconstruction surgery for cleft lip.jpg|เด็กหญิงคนเดียวกัน 1 เดือนหลังจากผ่าตัด
ไฟล์:5-year-old girl showing scar from infantile facial reconstruction surgery.jpg|เด็กหญิงคนเดียวกัน อายุ 5 ปี 4 เดือน สังเกตว่าแผลเป็นจะดูจางลงตามอายุ
ไฟล์:8-year-old girl showing scar from infantile facial reconstruction surgery.jpg|เด็กหญิงคนเดียวกัน อายุ 8 ปี สังเกตว่าแผลเป็นเกือบจะหายสนิท
</gallery>
</center>


== เพดานโหว่ ==
== เพดานโหว่ ==
'''เพดานโหว่''' เป็นภาวะที่แผ่นกระดูกของ[[กะโหลกศีรษะ]]ที่ประกอบเป็น[[เพดานแข็ง]] 2 แผ่นไม่เชื่อมกัน อาจมีช่องโหว่ของ[[เพดานอ่อน]]ได้ด้วยเช่นกัน ผู้ป่วยส่วนมากมักมีปากแหว่งร่วมด้วย เพดานโหว่เกิดราว 1 ในทารกแรกเกิดมีชีพ 700 คนทั่วโลก<ref>{{cite web |url=http://www.wrongdiagnosis.com/c/cleft_palate/stats-country.htm |title=Statistics by country for cleft palate |accessdate=2007-04-24 |work=WrongDiagnosis.com }}</ref>
'''เพดานโหว่''' เป็นภาวะที่แผ่นกระดูกของ[[กะโหลกศีรษะ]]ที่ประกอบเป็น[[เพดานแข็ง|เพดานปากปกติ]] 2 แผ่นไม่เชื่อมกัน อาจมีช่องโหว่ของ[[เพดานอ่อน]]ได้ด้วยเช่นกัน ผู้ป่วยส่วนมากมักมีปากแหว่งร่วมด้วย เพดานโหว่เกิดราว 1 ในทารกแรกเกิดมีชีพ 700 คนทั่วโลก<ref>{{cite web |url=http://www.wrongdiagnosis.com/c/cleft_palate/stats-country.htm |title=Statistics by country for cleft palate |accessdate=2007-04-24 |work=WrongDiagnosis.com }}</ref>


เพดานโหว่แบ่งออกเป็นชนิดสมบูรณ์ (คือมีรอยแยกทั้งเพดานแข็งและเพดานอ่อน บางครั้งอาจมีที่ขากรรไกรด้วย) หรือชนิดไม่สมบูรณ์ (คือมีช่องอยู่ที่เพดานปาก มักเป็นที่เพดานอ่อน) ผู้ป่วยเพดานโหว่มักมี[[ลิ้นไก่]]แฉก เพดานโหว่มีสาเหตุมาจากความบกพร่องของการเชื่อมของ[[ส่วนยื่นเพดานปากด้านข้าง]] (lateral palatine processes) , [[ผนังกลางจมูก]] (nasal septum) , และ/หรือ[[ส่วนยื่นเพดานปากกลาง]] (median palatine processes) เพื่อเป็น[[เพดานปากทุติยภูมิ]] (secondary palate)
เพดานโหว่แบ่งออกเป็นชนิดสมบูรณ์ (คือมีรอยแยกทั้งเพดานแข็งและเพดานอ่อน บางครั้งอาจมีที่ขากรรไกรด้วย) หรือชนิดไม่สมบูรณ์ (คือมีช่องอยู่ที่เพดานปาก มักเป็นที่เพดานอ่อน) ผู้ป่วยเพดานโหว่มักมี[[ลิ้นไก่]]แฉก เพดานโหว่มีสาเหตุมาจากความบกพร่องของการเชื่อมของ[[ส่วนยื่นเพดานปากด้านข้าง]] (lateral palatine processes) , [[ผนังกลางจมูก]] (nasal septum) , และ/หรือ[[ส่วนยื่นเพดานปากกลาง]] (median palatine processes) เพื่อเป็น[[เพดานปากทุติยภูมิ]] (secondary palate)
บรรทัด 56: บรรทัด 21:
ภาพต่อจากนี้แสดงเพดานปาก โดยด้านบนของภาพคือจมูก ริมฝีปากแสดงด้วยสีชมพู โดยภาพดังกล่าวจะไม่แสดงฟันเพื่อให้เห็นโครงสร้างเพดานโหว่ชัดเจน
ภาพต่อจากนี้แสดงเพดานปาก โดยด้านบนของภาพคือจมูก ริมฝีปากแสดงด้วยสีชมพู โดยภาพดังกล่าวจะไม่แสดงฟันเพื่อให้เห็นโครงสร้างเพดานโหว่ชัดเจน


<center>
<center></center>
<gallery>
ไฟล์:Cleftpalate3.png|เพดานโหว่ไม่สมบูรณ์ (Incomplete cleft palate)
ไฟล์:Cleftpalate1.png|ปากแหว่งเพดานโหว่ข้างเดียวสมบูรณ์ (Unilateral complete lip and palate)
ไฟล์:Cleftpalate2.png|ปากแหว่งเพดานโหว่สองข้างสมบูรณ์ (Bilateral complete lip and palate)
</gallery>
</center>


ผลจากการมีช่องเชื่อมระหว่างช่องปากและโพรงจมูกคือ '''เพดานอ่อนและคอหอยบกพร่อง''' (velopharyngeal insufficiency, velopharyngeal inadequacy; VPI) ช่องดังกล่าวทำให้อากาศรั่วไปยังโพรงจมูกทำให้เมื่อพูดจะเกิดเสียงก้องขึ้นจมูก และเกิด [[nasal emission]] (อากาศจากปากผ่านช่องเพดานปากระหว่างการออกเสียงพยัญชนะที่ต้องอาศัยความดันในปาก) <ref name="Sloan">{{cite journal |author=Sloan GM |title=Posterior pharyngeal flap and sphincter pharyngoplasty: the state of the art |journal=Cleft Palate Craniofac. J. |volume=37 |issue=2 |pages=112–22 |year=2000 |pmid=10749049 |doi=10.1597/1545-1569 (2000) 037<0112:PPFASP>2.3.CO;2}}</ref> ผลตามมาจากอาการดังกล่าวทำให้ออกเสียงไม่ชัด เช่น เสียงเพี้ยน และต้องออกเสียงแบบอื่นชดเชย เช่น ใช้[[เสียงกัก เส้นเสียง]]หรือ[[เสียงเสียดแทรก]]หลังโพรงจมูก<ref>Hill, J.S. (2001). Velopharyngeal insufficiency: An update on diagnostic and surgical techniques. Current Opinion in Otolaryngology and Head and Neck Surgery, 9, 365-368.</ref> ทางเลือกในการรักษาคือ[[การบำบัดวจีเภท]] (speech therapy) , การใช้[[กายอุปกรณ์|อุปกรณ์เทียม]], การเสริมผนังหลังคอหอย, การเพิ่มความยาวเพดานปาก และการผ่าตัด<ref name="Sloan" />
ผลจากการมีช่องเชื่อมระหว่างช่องปากและโพรงจมูกคือ '''เพดานอ่อนและคอหอยบกพร่อง''' (velopharyngeal insufficiency, velopharyngeal inadequacy; VPI) ช่องดังกล่าวทำให้อากาศรั่วไปยังโพรงจมูกทำให้เมื่อพูดจะเกิดเสียงก้องขึ้นจมูก และเกิด [[nasal emission]] (อากาศจากปากผ่านช่องเพดานปากระหว่างการออกเสียงพยัญชนะที่ต้องอาศัยความดันในปาก) <ref name="Sloan">{{cite journal |author=Sloan GM |title=Posterior pharyngeal flap and sphincter pharyngoplasty: the state of the art |journal=Cleft Palate Craniofac. J. |volume=37 |issue=2 |pages=112–22 |year=2000 |pmid=10749049 |doi=10.1597/1545-1569 (2000) 037<0112:PPFASP>2.3.CO;2}}</ref> ผลตามมาจากอาการดังกล่าวทำให้ออกเสียงไม่ชัด เช่น เสียงเพี้ยน และต้องออกเสียงแบบอื่นชดเชย เช่น ใช้[[เสียงกัก เส้นเสียง]]หรือ[[เสียงเสียดแทรก]]หลังโพรงจมูก<ref>Hill, J.S. (2001). Velopharyngeal insufficiency: An update on diagnostic and surgical techniques. Current Opinion in Otolaryngology and Head and Neck Surgery, 9, 365-368.</ref> ทางเลือกในการรักษาคือ[[การบำบัดวจีเภท]] (speech therapy) , การใช้[[กายอุปกรณ์|อุปกรณ์เทียม]], การเสริมผนังหลังคอหอย, การเพิ่มความยาวเพดานปาก และการผ่าตัด<ref name="Sloan" />


'''เพดานโหว่ใต้ชั้นเยื่อเมือก''' (Submucous cleft palate; SMCP) อาจเกิดขึ้นได้ โดยมีลักษณะเพดานโหว่ซ่อนอยู่ในส่วนเพดานอ่อน ร่วมกับมีอาการสามอย่างได้แก่ลิ้นไก่ 2 แฉก, มีรอยบากที่เพดานแข็งและโซนา เพลลูซิดา (zona pellucida)
'''เพดานโหว่ใต้ชั้นเยื่อเมือก''' (Submucous cleft palate; SMCP) อาจเกิดขึ้นได้ โดยมีลักษณะเพดานโหว่ซ่อนอยู่ในส่วนเพดานอ่อน ร่วมกับมีอาการสามอย่างได้แก่ลิ้นไก่ 2 แฉก, มีรอยบากที่เพดานแข็งและโซนา เพลลูซิดา (zona pellucida) ทุกอย่างปกติ


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:24, 10 กรกฎาคม 2562

ปากแหว่ง (อังกฤษ: cleft lip; ละติน: cheiloschisis) และเพดานโหว่ (อังกฤษ: cleft palate; ละติน: palatoschisis) หรือมักเรียกรวมกันว่าปากแหว่งเพดานโหว่ เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดของการเจริญของใบหน้าระหว่างการตั้งครรภ์ การรักษาผู้ป่วยที่พิการปากแหว่งเพดานโหว่ทำโดยการผ่าตัดทันทีหลังคลอด อัตราผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่เกิดราว 1 ในทารกแรกเกิด 600-800 คน

ปากแหว่ง

ถ้ารอยแยกนั้นไม่ถึงส่วนเพดานปาก จะเรียกความผิดปกตินี้ว่า ปากแหว่ง หากเกิดที่ด้านบนของริมฝีปากในลักษณะช่องว่างเล็กๆ หรือเว้าเล็กน้อยเรียกว่า ปากแหว่งไม่สมบูรณ์ หรือปากแหว่งบางส่วน (partial or incomplete cleft) แต่หากรอยแยกนี้ต่อเนื่องไปถึงจมูกเรียกว่า ปากแหว่งสมบูรณ์ (complete cleft) ปากแหว่งอาจเกิดข้างเดียวหรือสองข้างก็ได้ ปากแหว่งมีสาเหตุจากการเชื่อมของขากรรไกรบนและส่วนยื่นจมูกด้านใกล้กลาง (medial nasal processes) เพื่อเป็นเพดานปากปฐมภูมิ (primary palate) ไม่สมบูรณ์

ปากแหว่งรูปแบบหนึ่งเรียกว่า microform cleft ซึ่งมีความรุนแรงน้อยกว่า มีลักษณะเป็นรอยเล็กๆ บนริมฝีปากหรือมีลักษณะคล้ายแผลเป็นจากริมฝีปากไปยังจมูก ในบางรายกล้ามเนื้อหูรูดปากใต้แผลเป็นนั้นอาจผิดปกติซึ่งต้องได้รับการผ่าตัด ทารกที่เกิดมามีความผิดปกติดังกล่าวจำเป็นต้องได้รับการประเมินความรุนแรงจากแพทย์ด้านใบหน้าและปากทันที

เพดานโหว่

เพดานโหว่ เป็นภาวะที่แผ่นกระดูกของกะโหลกศีรษะที่ประกอบเป็นเพดานปากปกติ 2 แผ่นไม่เชื่อมกัน อาจมีช่องโหว่ของเพดานอ่อนได้ด้วยเช่นกัน ผู้ป่วยส่วนมากมักมีปากแหว่งร่วมด้วย เพดานโหว่เกิดราว 1 ในทารกแรกเกิดมีชีพ 700 คนทั่วโลก[1]

เพดานโหว่แบ่งออกเป็นชนิดสมบูรณ์ (คือมีรอยแยกทั้งเพดานแข็งและเพดานอ่อน บางครั้งอาจมีที่ขากรรไกรด้วย) หรือชนิดไม่สมบูรณ์ (คือมีช่องอยู่ที่เพดานปาก มักเป็นที่เพดานอ่อน) ผู้ป่วยเพดานโหว่มักมีลิ้นไก่แฉก เพดานโหว่มีสาเหตุมาจากความบกพร่องของการเชื่อมของส่วนยื่นเพดานปากด้านข้าง (lateral palatine processes) , ผนังกลางจมูก (nasal septum) , และ/หรือส่วนยื่นเพดานปากกลาง (median palatine processes) เพื่อเป็นเพดานปากทุติยภูมิ (secondary palate)

ช่องที่เพดานปากที่เกิดจากเพดานโหว่ทำให้ช่องปากเชื่อมโดยตรงกับโพรงจมูก

ภาพต่อจากนี้แสดงเพดานปาก โดยด้านบนของภาพคือจมูก ริมฝีปากแสดงด้วยสีชมพู โดยภาพดังกล่าวจะไม่แสดงฟันเพื่อให้เห็นโครงสร้างเพดานโหว่ชัดเจน

ผลจากการมีช่องเชื่อมระหว่างช่องปากและโพรงจมูกคือ เพดานอ่อนและคอหอยบกพร่อง (velopharyngeal insufficiency, velopharyngeal inadequacy; VPI) ช่องดังกล่าวทำให้อากาศรั่วไปยังโพรงจมูกทำให้เมื่อพูดจะเกิดเสียงก้องขึ้นจมูก และเกิด nasal emission (อากาศจากปากผ่านช่องเพดานปากระหว่างการออกเสียงพยัญชนะที่ต้องอาศัยความดันในปาก) [2] ผลตามมาจากอาการดังกล่าวทำให้ออกเสียงไม่ชัด เช่น เสียงเพี้ยน และต้องออกเสียงแบบอื่นชดเชย เช่น ใช้เสียงกัก เส้นเสียงหรือเสียงเสียดแทรกหลังโพรงจมูก[3] ทางเลือกในการรักษาคือการบำบัดวจีเภท (speech therapy) , การใช้อุปกรณ์เทียม, การเสริมผนังหลังคอหอย, การเพิ่มความยาวเพดานปาก และการผ่าตัด[2]

เพดานโหว่ใต้ชั้นเยื่อเมือก (Submucous cleft palate; SMCP) อาจเกิดขึ้นได้ โดยมีลักษณะเพดานโหว่ซ่อนอยู่ในส่วนเพดานอ่อน ร่วมกับมีอาการสามอย่างได้แก่ลิ้นไก่ 2 แฉก, มีรอยบากที่เพดานแข็งและโซนา เพลลูซิดา (zona pellucida) ทุกอย่างปกติ

อ้างอิง

  1. "Statistics by country for cleft palate". WrongDiagnosis.com. สืบค้นเมื่อ 2007-04-24.
  2. 2.0 2.1 Sloan GM (2000). "Posterior pharyngeal flap and sphincter pharyngoplasty: the state of the art". Cleft Palate Craniofac. J. 37 (2): 112–22. doi:10.1597/1545-1569 (2000) 037<0112:PPFASP>2.3.CO;2. PMID 10749049. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่า |doi= (help)
  3. Hill, J.S. (2001). Velopharyngeal insufficiency: An update on diagnostic and surgical techniques. Current Opinion in Otolaryngology and Head and Neck Surgery, 9, 365-368.

แหล่งข้อมูลอื่น