ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เพลงพื้นเมือง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 8369122 สร้างโดย 101.108.84.199 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''เพลงพื้นเมือง''' หมายถึง เพลงที่ถูกแต่งขึ้นโดยส่วนมากจะร้องต่อๆกันมา โดยไม่ทราบคนแต่งที่แท้จริง และ ใช้ร้องรำทำเพลงเพื่อความสนุกสนาน ส่วนมาก รายละเอียดของเพลงท้องถิ่นนี้ มักจะเกิดขึ้นจาก ประเพณี กิจวัตรประจำวัน อาชีพ เป็นต้น
'''เพลงพื้นเมือง''' หมายถึง เพลงที่ถูกแต่งขึ้นโดยส่วนมากจะร้องต่อๆกันมา โดยไม่ทราบคนแต่งที่แท้จริง และ ใช้ร้องรำทำเพลงเพื่อความสนุกสนาน ส่วนมาก รายละเอียดของเพลงท้องถิ่นนี้ มักจะเกิดขึ้นจาก ประเพณี กิจวัตรประจำวัน อาชีพ เป็นต้น


== เพลงพื้นบ้านในประเทศไทย ==
== เพลงพื้นเมืองในประเทศไทย ==
{{ดูเพิ่มที่|เพลงพื้นเมืองในประเทศไทย}}
{{ดูเพิ่มที่|เพลงพื้นเมืองในประเทศไทย}}


เพลงพื้นบ้านในประเทศไทยนั้น ได้มีการสันนิษฐานว่า เพลงพื้นบ้านนั้น ได้เกิดมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยมาแล้ว ตามที่ปรากฏใน ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ว่า "อันราชประเพณีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเคยทรงประพฤติมาแต่ก่อน ถ้าทอดพระเนตรชักโคมลอยแล้ว ก็เสด็จทางเรือพระที่นั่งไปถวายดอกไม้เพลิง บูชาพระรัตนตรัยทุกพระอารามหลวง… แล้วก็ทอดพระเนตรทรงฟังประชาชนชายหญิงร้องรำเล่นนักขัตฤกษ์ เป็นการมหรสพต่างๆ "
เพลงพื้นเมืองในประเทศไทยนั้น ได้มีการสันนิษฐานว่า เพลงพื้นบ้านนั้น ได้เกิดมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยมาแล้ว ตามที่ปรากฏใน ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ว่า "อันราชประเพณีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเคยทรงประพฤติมาแต่ก่อน ถ้าทอดพระเนตรชักโคมลอยแล้ว ก็เสด็จทางเรือพระที่นั่งไปถวายดอกไม้เพลิง บูชาพระรัตนตรัยทุกพระอารามหลวง… แล้วก็ทอดพระเนตรทรงฟังประชาชนชายหญิงร้องรำเล่นนักขัตฤกษ์ เป็นการมหรสพต่างๆ "


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:10, 26 มิถุนายน 2562

เพลงพื้นเมือง หมายถึง เพลงที่ถูกแต่งขึ้นโดยส่วนมากจะร้องต่อๆกันมา โดยไม่ทราบคนแต่งที่แท้จริง และ ใช้ร้องรำทำเพลงเพื่อความสนุกสนาน ส่วนมาก รายละเอียดของเพลงท้องถิ่นนี้ มักจะเกิดขึ้นจาก ประเพณี กิจวัตรประจำวัน อาชีพ เป็นต้น

เพลงพื้นเมืองในประเทศไทย

เพลงพื้นเมืองในประเทศไทยนั้น ได้มีการสันนิษฐานว่า เพลงพื้นบ้านนั้น ได้เกิดมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยมาแล้ว ตามที่ปรากฏใน ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ว่า "อันราชประเพณีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเคยทรงประพฤติมาแต่ก่อน ถ้าทอดพระเนตรชักโคมลอยแล้ว ก็เสด็จทางเรือพระที่นั่งไปถวายดอกไม้เพลิง บูชาพระรัตนตรัยทุกพระอารามหลวง… แล้วก็ทอดพระเนตรทรงฟังประชาชนชายหญิงร้องรำเล่นนักขัตฤกษ์ เป็นการมหรสพต่างๆ "

ดูเพิ่ม