ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คริส เบเคอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PatiponLegendary (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
2ndoct (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มอ้างอิงและเนื้อหา
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''คริส เบเคอร์''' ({{lang-en|Chris Baker}}) หรือชื่อเต็มว่า '''คริสโตเฟอร์ จอห์น เบเคอร์''' (ภาษาอังกฤษ: Christopher John Baker) เป็น[[นักเขียน]] [[บรรณาธิการ]][[วารสาร]][[สยามสมาคม]] และ[[นักวิจัย]]อิสระ เขาอาศัยอยู่ใน[[ประเทศไทย]]มาเป็นเวลามากกว่า 20 ปี จบการศึกษาในระดับ[[ปริญญาเอก]]จาก[[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์]] [[สหราชอาณาจักร]] ผลงานที่เป็นที่รู้จักคือหนังสือ ''A History of Thailand'', ''Thaksin: The Business of Politics in Thailand'', ''Thailand's Boom and Bust and Thailand's Crisis'' ซึ่งหนังสือดังกล่าวทั้งหมดเขียนร่วมกับ ศาสตราจารย์ ดร. [[ผาสุก พงษ์ไพจิตร]] นอกจากนี้ คริส เบเคอร์ ยังเป็นผู้เขียนหลักของ[[สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ]] (UNDP) ใน the United Nations Development Programme's Thailand Human Development Report 2007: Sufficiency Economy and Human Development ซึ่งกล่าวยกย่องทฤษฎี[[เศรษฐกิจพอเพียง]]ของ[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช]]
'''คริส เบเคอร์''' ({{lang-en|Chris Baker}}) หรือชื่อเต็มว่า '''คริสโตเฟอร์ จอห์น เบเคอร์''' (ภาษาอังกฤษ: Christopher John Baker) เป็น[[นักเขียน]] [[บรรณาธิการ]][[วารสาร]][[สยามสมาคม]] และ[[นักวิจัย]]อิสระ เขาอาศัยอยู่ใน[[ประเทศไทย]]มาเป็นเวลามากกว่า 20 ปี<ref>{{cite book|title=A History of Thailand|author=Chris Baker, [[ผาสุก พงษ์ไพจิตร]]|publisher=Cambridge University Press|isbn=978-0-521-81615-1|nopp=true|page=Back cover|date=2005-04-20}}</ref> จบการศึกษาในระดับ[[ปริญญาเอก]]จาก[[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์]] [[สหราชอาณาจักร]]<ref>{{cite web|title=คณะกรรมการ|url=http://www.siam-society.org/about/council_th.html|website=The Siam Society|accessdate=10 March 2018}}</ref> ผลงานที่เป็นที่รู้จักคือหนังสือ ''A History of Thailand'', ''Thaksin: The Business of Politics in Thailand'', ''Thailand's Boom and Bust and Thailand's Crisis'' ซึ่งหนังสือดังกล่าวทั้งหมดเขียนร่วมกับภรรยา ศาสตราจารย์ ดร. [[ผาสุก พงษ์ไพจิตร]]<ref>Simon Long, "The Best Books," ''The Economist'', May 18, 2010. http://www.economist.com/node/16155881</ref> นอกจากนี้ คริส เบเคอร์ ยังเป็นผู้เขียนหลักของ[[สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ]] (UNDP) ใน the United Nations Development Programme's Thailand Human Development Report 2007: Sufficiency Economy and Human Development ซึ่งกล่าวยกย่องทฤษฎี[[เศรษฐกิจพอเพียง]]ของ[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช]]
ในปี 2010 คริส เบเคอร์และผาสุก พงษ์ไพจิตรได้ตีพิมพ์หนังสือแปลเป็นภาษาอังกฤษบทกลอนเรื่อง''[[ขุนช้างขุนแผน]]''<ref>{{cite book|last1=Baker|first1=Chris|last2=Phongpaichit|first2=Pasuk| title=The Tale of Khun Chang Khun Phaen|date=2015|publisher=Silkworm Books|location=Chiang Mai| isbn=9786162150845|edition=Abridged| url=https://silkwormbooks.com/products/kckp-abridged|accessdate=20 February 2018}}</ref>และยังตีพิมพ์เวอร์ชั่นนี้เป็นภาษาไทยอีกด้วย
เบเคอร์ได้รับรางวัล Fukuoka Prize ในปี 2017 ร่วมกับภรรยา ผาสุก พงษ์ไพจิตร<ref>{{cite web|title=Grand Prize 2017 [28th] Pasuk Phongpaichit & Chris Baker|url=http://fukuoka-prize.org/en/laureate/prize/gra/pasukchris.php|website=Fukuoka Prize|date=2017-06-09|accessdate=13 January 2018}}</ref> เป็นรางวันที่มอบให้ผู้ที่มีผลงานโดดเด่นในในด้านการศึกษา ศิลปะและaวัฒนธรรมในเอเชีย<ref>{{cite web|title=Background of the Fukuoka Prize|url=http://fukuoka-prize.org/en/about/|website=Fukuoka Prize|accessdate=13 January 2018}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
* http://www.siam-society.org/about/council_th.html


[[หมวดหมู่:นักเขียน]]
[[หมวดหมู่:นักเขียน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:23, 10 มีนาคม 2562

คริส เบเคอร์ (อังกฤษ: Chris Baker) หรือชื่อเต็มว่า คริสโตเฟอร์ จอห์น เบเคอร์ (ภาษาอังกฤษ: Christopher John Baker) เป็นนักเขียน บรรณาธิการวารสารสยามสมาคม และนักวิจัยอิสระ เขาอาศัยอยู่ในประเทศไทยมาเป็นเวลามากกว่า 20 ปี[1] จบการศึกษาในระดับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ สหราชอาณาจักร[2] ผลงานที่เป็นที่รู้จักคือหนังสือ A History of Thailand, Thaksin: The Business of Politics in Thailand, Thailand's Boom and Bust and Thailand's Crisis ซึ่งหนังสือดังกล่าวทั้งหมดเขียนร่วมกับภรรยา ศาสตราจารย์ ดร. ผาสุก พงษ์ไพจิตร[3] นอกจากนี้ คริส เบเคอร์ ยังเป็นผู้เขียนหลักของสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) ใน the United Nations Development Programme's Thailand Human Development Report 2007: Sufficiency Economy and Human Development ซึ่งกล่าวยกย่องทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในปี 2010 คริส เบเคอร์และผาสุก พงษ์ไพจิตรได้ตีพิมพ์หนังสือแปลเป็นภาษาอังกฤษบทกลอนเรื่องขุนช้างขุนแผน[4]และยังตีพิมพ์เวอร์ชั่นนี้เป็นภาษาไทยอีกด้วย เบเคอร์ได้รับรางวัล Fukuoka Prize ในปี 2017 ร่วมกับภรรยา ผาสุก พงษ์ไพจิตร[5] เป็นรางวันที่มอบให้ผู้ที่มีผลงานโดดเด่นในในด้านการศึกษา ศิลปะและaวัฒนธรรมในเอเชีย[6]

อ้างอิง

  1. Chris Baker, ผาสุก พงษ์ไพจิตร (2005-04-20). A History of Thailand. Cambridge University Press. Back cover. ISBN 978-0-521-81615-1. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |nopp= ถูกละเว้น แนะนำ (|no-pp=) (help)
  2. "คณะกรรมการ". The Siam Society. สืบค้นเมื่อ 10 March 2018.
  3. Simon Long, "The Best Books," The Economist, May 18, 2010. http://www.economist.com/node/16155881
  4. Baker, Chris; Phongpaichit, Pasuk (2015). The Tale of Khun Chang Khun Phaen (Abridged ed.). Chiang Mai: Silkworm Books. ISBN 9786162150845. สืบค้นเมื่อ 20 February 2018.
  5. "Grand Prize 2017 [28th] Pasuk Phongpaichit & Chris Baker". Fukuoka Prize. 2017-06-09. สืบค้นเมื่อ 13 January 2018.
  6. "Background of the Fukuoka Prize". Fukuoka Prize. สืบค้นเมื่อ 13 January 2018.