ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรอบอ้างอิง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: ในวิชาฟิสิกส์ '''กรอบอ้างอิง''' ({{lang-en|frame of reference}}) ประกอบด้วยระบบพิก...
 
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
ในวิชา[[ฟิสิกส์]] '''กรอบอ้างอิง''' ({{lang-en|frame of reference}}) ประกอบด้วยระบบพิกัดนามธรรมและชุดจุดอ้างอิงกายภาพซึ่งกำหนด (ระบุตำแหน่งและกำหนดทิศทาง) ระบบพิกัดและวางมาตรฐานการวัดได้อย่งาเดียว
ในวิชา[[ฟิสิกส์]] '''กรอบอ้างอิง''' ({{lang-en|frame of reference}}) ประกอบด้วยระบบพิกัดนามธรรมและชุดจุดอ้างอิงกายภาพซึ่งกำหนด (ระบุตำแหน่งและกำหนดทิศทาง) ระบบพิกัดและวางมาตรฐานการวัดได้อย่างเดียว


ใน n มิติ จุดอ้างอิง n+1 จุดเพียงพอต่อการนิยามกรอบอ้างอิงหนึ่งได้อย่างสมบูรณ์ กรอบอ้างอิงอาจนิยมด้วยจุดอ้างอิง ณ จุดกำหนด และจุดอ้างอิงที่ระยะทางหนึ่งหน่วยตามแกนพิกัด n แต่ละแกนโดยใช้พิกัดสี่เหลี่ยม (คาร์ทีเชียน)
ใน n มิติ จุดอ้างอิง n+1 จุดเพียงพอต่อการนิยามกรอบอ้างอิงหนึ่งได้อย่างสมบูรณ์ กรอบอ้างอิงอาจนิยมด้วยจุดอ้างอิง ณ จุดกำหนด และจุดอ้างอิงที่ระยะทางหนึ่งหน่วยตามแกนพิกัด n แต่ละแกนโดยใช้พิกัดสี่เหลี่ยม (คาร์ทีเชียน)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:09, 15 กันยายน 2561

ในวิชาฟิสิกส์ กรอบอ้างอิง (อังกฤษ: frame of reference) ประกอบด้วยระบบพิกัดนามธรรมและชุดจุดอ้างอิงกายภาพซึ่งกำหนด (ระบุตำแหน่งและกำหนดทิศทาง) ระบบพิกัดและวางมาตรฐานการวัดได้อย่างเดียว

ใน n มิติ จุดอ้างอิง n+1 จุดเพียงพอต่อการนิยามกรอบอ้างอิงหนึ่งได้อย่างสมบูรณ์ กรอบอ้างอิงอาจนิยมด้วยจุดอ้างอิง ณ จุดกำหนด และจุดอ้างอิงที่ระยะทางหนึ่งหน่วยตามแกนพิกัด n แต่ละแกนโดยใช้พิกัดสี่เหลี่ยม (คาร์ทีเชียน)

ในสัมพัทธภาพของไอน์สไตน์ กรอบอ้างอิงใช้เพื่อระบุความสัมพันธ์ระหว่างผู้สังเกตที่เคลื่อนที่และปรากฏการณ์ที่กำลังสังเกต ในบริบทนี้ วลีที่ใช้มักเป็น "กรอบอ้างอิงของผู้สังเกต" ซึ่งส่อว่าผู้สังเกตอยู่นิ่งในกรอบนั้น แม้จะไม่จำเป็นต้องอยู่ ณ จุดกำเนิดเสมอไป กรอบอ้างอิงสัมพัทธภาพยังรวมเวลาพิกัด ซึ่งไม่ตรงกันในกรอบที่เคลื่อนที่โดยสัมพัทธ์ต่อกัน ฉะนั้นสถานการณ์จึงต่างจากสัมพัทธภาพกาลิเลอิ ซค่งเวลาพิกัดทั้งหมดสมมูลกันโดยสภาพ