ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลำยอง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jadenarong (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Jadenarong (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14: บรรทัด 14:


'''ประเภทของช่อฟ้า'''
'''ประเภทของช่อฟ้า'''
** ช่อฟ้าแบบปากหงส์ เรียกอีกอย่างว่าปากปลา
** ช่อฟ้าแบบปากหงส์ เรียกอีกอย่างว่าปากปลา ลักษณะปลายจะงอยทู่หงายขึ้นยื่นไปข้างหน้า
** ช่อฟ้าแบบปากครุฑ เรียกอีกอย่างว่าปากนก
** ช่อฟ้าแบบปากครุฑ เรียกอีกอย่างว่าปากนก ลักษณะปลายจะงอยแหลมโค้งและงุ้มลง
** ช่อฟ้าลาว
** ช่อฟ้าลาว
** ช่อฟ้าหัวช้าง
** ช่อฟ้าหัวนกเจ่า
** ช่อฟ้าหัวนกเจ่า
** ช่อฟ้าแบบประยุกต์ อื่น ๆ
** ช่อฟ้าแบบประยุกต์ อื่น ๆ
บรรทัด 38: บรรทัด 39:
== หนังสืออ่านเพิ่ม ==
== หนังสืออ่านเพิ่ม ==
* สมคิด จิระทัศนกุล '''วัด: พุทธศาสนสถาปัตยกรรมไทย '''โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2544. ISBN 974-6006-81-9
* สมคิด จิระทัศนกุล '''วัด: พุทธศาสนสถาปัตยกรรมไทย '''โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2544. ISBN 974-6006-81-9
* สมภพ ภิรมย์, พลเรือตรี '''ช่อฟ้า นาคเบือน ตุง '''องค์การค้คุรุสภา พ.ศ. 2545. ISBN 974-0086-30-6


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
บรรทัด 46: บรรทัด 48:


<gallery>
<gallery>
ภาพ:Chofahwatpkaeo05.jpg|ช่อฟ้าอุโบสถวัดพระแก้ว กรุงเทพฯ
ภาพ:Chofahwatpkaeo05.jpg|ช่อฟ้าอุโบสถวัดพระแก้ว กรุงเทพฯ (ช่อฟ้าแบบปากนก)
ภาพ:Chofahwatchyod04.jpg|ช่อฟ้าวิหาร วัดเจ็ดยอด เชียงใหม่
ภาพ:Chofahwatchyod04.jpg|ช่อฟ้าวิหาร วัดเจ็ดยอด เชียงใหม่ (ช่อฟ้าแบบหัวช้าง)
ภาพ:Chofahwatpsingh05.jpg|ช่อฟ้าอุโบสถวัดพระสิงห์ เชียงใหม่
ภาพ:Chofahwatpsingh05.jpg|ช่อฟ้าอุโบสถวัดพระสิงห์ เชียงใหม่ (ช่อฟ้าศิลปลานนา)
ภาพ:Ubosot_giebel_1.jpg|ช่อฟ้าวิหารหลวง วัดสุทัศน์ กรุงเทพฯ
ภาพ:Ubosot_giebel_1.jpg|ช่อฟ้าวิหารหลวง วัดสุทัศน์ กรุงเทพฯ (ช่อฟ้าแบบปากปลา)
</gallery>
</gallery>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:56, 20 สิงหาคม 2550

เครื่องลำยอง คือองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมไทยที่มีลวดลายประดับให้อาคารสวยงาม ซึ่งจะใช้กับอาคารทางศาสนา เทวสถาน พระบรมมหาราชวัง หรือเป็นอุเทสิกเจดีย์เท่านั้น

เครื่องลำยองที่ใช้กับหลังคาหน้าจั่ว

การใช้เครื่องลำยองประดับตกแต่งส่วนหลังคาและหน้าบันมีองค์ประกอบดังนี้

  • ช่อฟ้า เป็นส่วนซึ่งประดับอยู่ส่วนยอดบนสุดของปลายสันหลังคา
อุโบสถวัดราชนัดดา


องค์ประกอบของช่อฟ้า

    • ส่วนปลายยอดหรือหงอน
    • ส่วนปาก
    • ส่วนท้อง เรียกว่าอกสุบรรณ


ประเภทของช่อฟ้า

    • ช่อฟ้าแบบปากหงส์ เรียกอีกอย่างว่าปากปลา ลักษณะปลายจะงอยทู่หงายขึ้นยื่นไปข้างหน้า
    • ช่อฟ้าแบบปากครุฑ เรียกอีกอย่างว่าปากนก ลักษณะปลายจะงอยแหลมโค้งและงุ้มลง
    • ช่อฟ้าลาว
    • ช่อฟ้าหัวช้าง
    • ช่อฟ้าหัวนกเจ่า
    • ช่อฟ้าแบบประยุกต์ อื่น ๆ


  • ใบระกา เป็นส่วนของปั้นลมประดับตกแต่งอยู่ระหว่างช่อฟ้าและหางหงส์ มีลักษณะลวดลายปลายเรียว มีหลายลักษณะ เช่นลายน่องสิงห์ ลายหอยจับหลัก ลายกระหนก ลายใบเทศ เป็นต้น มีคติความเชื่อว่าเป็นลักษณะของขนปีกของครุฑ


  • รวยระกา งวงไอยรา นาคสะดุ้ง
ภาพใบระกา งวงไอยรา นาคสะดุ้ง และหางหงส์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
    • รวยระกา เป็นส่วนที่รองรับใบระกา
    • งวงไอยรา เป็นส่วนที่เกี่ยวงอกับแป
    • นาคสะดุ้ง เป็นรวยระกาส่วนที่โค้งงอต่อจากงวงไอยรายาวไปจนจรดหางหงษ์


  • หางหงส์ เป็นส่วนปลายสุดของปั้นลม มีหลายแบบได้แก่ แบบทรงนาค แบบนาคเบือน แบบเศียรนาค แบบเหรา เป็นต้น


  • ลานหน้าบัน

หนังสืออ่านเพิ่ม

  • สมคิด จิระทัศนกุล วัด: พุทธศาสนสถาปัตยกรรมไทย โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2544. ISBN 974-6006-81-9
  • สมภพ ภิรมย์, พลเรือตรี ช่อฟ้า นาคเบือน ตุง องค์การค้คุรุสภา พ.ศ. 2545. ISBN 974-0086-30-6

แหล่งข้อมูลอื่น