ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เพลย์โดว์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
แปลบรรยายใต้รูป
คำผิด สมาคุม เป็น สมาคม, คววาม เป็น ความ, แรียน เป็น เรียน, ผลิดต เป็น ผลิต, แสร เป็น แสน
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{บทความดีแทค}}
{{บทความดีแทค}}
{{about|วัตถุสำหรับปั้นเป็นรูปร่าง|นักปรัชญากรีก|เพลโต}}
{{about|วัตถุสำหรับปั้นเป็นรูปร่าง|นักปรัชญากรีก|เพลโต}}
'''เพลย์โดว์ (แป้งโดว์)''' คือ ของที่เด็กๆใช้[[modelling clay|ปั้นขึ้นมาเป็นรูปร่าง]]ต่างๆ สร้างสรรค์ขึ้นมาเป็นงานศิลปะ ปั้นเล่นสนุกๆที่บ้านหรือไม่ก็ปั้นส่งงานที่โรงเรียน แป้งโดว์ทำมาจากแป้ง, น้ำ, เกลือ, [[boric acid|กรดบอริก]], และ น้ำมันแร่(มิเนอรัล ออยล์) ในยุค 1930 มีการผลิตสินค้าใน[[Cincinnati|เมืองซินซินเนติ]], [[Ohio|โอไฮโอ]], [[United States|สหรัฐอเมริกา]] จุดประสงค์เพื่อใช้ทำความสะอาด[[wallpaper|ผนัง]]<ref name="Walsh" /> ต่อมาช่วงยุค 1950 ตามโรงเรียนเริ่มเอาสินค้านี้มาให้เด็กๆปั้นเล่น ทำให้มีการปรับปรุงสินค้าใหม่ในช่วงกลางของยุค 1950 และกลายเป็นที่นิยมมากตามโรงเรียนต่างๆในซินซินเนติ ในปี 1956 มีการสาธิตวิธีการใช้เพลย์โดว์ในงานประชุมทางการศึกษา และเริ่มเปิดร้านขายตามห้างสรรพสินค้าใหญ่ๆ<ref name="Works" /> ในปี 1957 มีการทำโฆษณาเพลย์โดว์ตามรายการโทรทัศน์ที่เด็กๆชื่นชอบ ซึ่งเพิ่มยอดขายได้เป็นจำนวนมาก<ref name="Walsh" /> ตั้งแต่ช่วงกลางของยุค 1950 เพลย์โดว์ได้เข้าสู่ตลาดของเล่นเด็ก และได้เพิ่มยอดจำนวนสินค้าอย่างมีนัยสำคัญ เช่น เพลย์โดว์ชุดโรงงานแสนสนุก(ฟัน แฟคทอรี่)<ref name="Sobey" /> ในปี 2003 [[Toy Industry Association|สมาคุมอุตสาหกรรมของเล่น]]ได้ยกให้เพลย์โดว์นี้เป็นหนึ่งใน "ของเล่นแห่งศตวรรษ"<ref name="TIA" />
'''เพลย์โดว์ (แป้งโดว์)''' คือ ของที่เด็กๆใช้[[modelling clay|ปั้นขึ้นมาเป็นรูปร่าง]]ต่างๆ สร้างสรรค์ขึ้นมาเป็นงานศิลปะ ปั้นเล่นสนุกๆที่บ้านหรือไม่ก็ปั้นส่งงานที่โรงเรียน แป้งโดว์ทำมาจากแป้ง, น้ำ, เกลือ, [[boric acid|กรดบอริก]], และ น้ำมันแร่(มิเนอรัล ออยล์) ในยุค 1930 มีการผลิตสินค้าใน[[Cincinnati|เมืองซินซินเนติ]], [[Ohio|โอไฮโอ]], [[United States|สหรัฐอเมริกา]] จุดประสงค์เพื่อใช้ทำความสะอาด[[wallpaper|ผนัง]]<ref name="Walsh" /> ต่อมาช่วงยุค 1950 ตามโรงเรียนเริ่มเอาสินค้านี้มาให้เด็กๆปั้นเล่น ทำให้มีการปรับปรุงสินค้าใหม่ในช่วงกลางของยุค 1950 และกลายเป็นที่นิยมมากตามโรงเรียนต่างๆในซินซินเนติ ในปี 1956 มีการสาธิตวิธีการใช้เพลย์โดว์ในงานประชุมทางการศึกษา และเริ่มเปิดร้านขายตามห้างสรรพสินค้าใหญ่ๆ<ref name="Works" /> ในปี 1957 มีการทำโฆษณาเพลย์โดว์ตามรายการโทรทัศน์ที่เด็กๆชื่นชอบ ซึ่งเพิ่มยอดขายได้เป็นจำนวนมาก<ref name="Walsh" /> ตั้งแต่ช่วงกลางของยุค 1950 เพลย์โดว์ได้เข้าสู่ตลาดของเล่นเด็ก และได้เพิ่มยอดจำนวนสินค้าอย่างมีนัยสำคัญ เช่น เพลย์โดว์ชุดโรงงานแสนสนุก(ฟัน แฟคทอรี่)<ref name="Sobey" /> ในปี 2003 [[Toy Industry Association|สมาคมอุตสาหกรรมของเล่น]]ได้ยกให้เพลย์โดว์นี้เป็นหนึ่งใน "ของเล่นแห่งศตวรรษ"<ref name="TIA" />


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
=== จุดเรื่มต้น ===
=== จุดเรื่มต้น ===
[[ไฟล์:Play dough 04799.jpg|thumb|วัตถุสร้างจากเพลย์โดว์]]
[[ไฟล์:Play dough 04799.jpg|thumb|วัตถุสร้างจากเพลย์โดว์]]
เพลย์ โดว์ หรือแป้งโดว์ เป็นที่รู้จักกันว่าไร้สารพิษ ไม่มีการย้อมสี สามารถนำมาใช้ปั้นให้เป็นรูปร่างใหม่ๆได้อีก แต่แท้จริงแล้วเพลย์โดว์เป็นสารที่ยืดหยุ่นง่าย คล้ายๆกับพวกปูนที่ใช้อุดรอยรั่ว คิดค้นโดย โนอาห์ แมควิคเกอร์ ซึ่งทำงานอยู่ที่บริษัท [[Kutol Products Company|คูตอล โปรดักส์]] ผลิตสารตั้งต้นของสบู่ ในเมือง[[Cincinnati|ซินซินเนติ]] เริ่มต้นจาก[[Krogers|โครเจอร์ โกรเซอรี]]มาขอให้ผลิตสินค้าที่ใช้สำหรับทำความสะอาดคราบตกค้างของ[[coal|ถ่าน]]ที่ติดที่ผนังห้อง<ref>''[http://www.cbc.ca/undertheinfluence/season-1/2012/03/17/accidental-brands-1/ "Accidental Brands"], from [[Under the Influence (radio documentary series)|Under the Influence]]'', by [[Terry O'Reilly (broadcaster)|Terry O'Reilly]], on [[CBC.ca]]; first broadcast March 17, 2012</ref> แต่ในช่วงหลังเกิด[[World War II|สงครามโลกครั้งที่สอง]]มีการใช้[[natural gas|แก๊สธรรมชาติ]]มาแทนการเผาถ่านหินเพื่อให้ความอบอุ่นในบ้าน ทำให้เขม่าควันที่เกิดขึ้นในบ้านลดลง ประกอบกับมีการใช้ผนังห้องแบบ[[vinyl|ไวนิล]]ที่สามารถล้างออกได้ง่ายเข้ามาแทนผนังแบบเก่า ทำให้ตลาดธุรกิจของสินค้าที่ใช้ทำความสะอาดผนังซบเซาลงอย่างมาก โจ แมควิคเกอร์(หลายชายของแมควิคเกอร์) ร่วมงานกับคูตอล พยายามประคองไม่ให้บริษัทล้มละลาย เขาพบว่า มีการใช้สินค้าทำคววามสะอาดคราบผนังนี้ไปประดับต้นคริสมาสต์ตามโรงเรียนเด็กเล็กต่างๆ<ref name="Walsh" />
เพลย์ โดว์ หรือแป้งโดว์ เป็นที่รู้จักกันว่าไร้สารพิษ ไม่มีการย้อมสี สามารถนำมาใช้ปั้นให้เป็นรูปร่างใหม่ๆได้อีก แต่แท้จริงแล้วเพลย์โดว์เป็นสารที่ยืดหยุ่นง่าย คล้ายๆกับพวกปูนที่ใช้อุดรอยรั่ว คิดค้นโดย โนอาห์ แมควิคเกอร์ ซึ่งทำงานอยู่ที่บริษัท [[Kutol Products Company|คูตอล โปรดักส์]] ผลิตสารตั้งต้นของสบู่ ในเมือง[[Cincinnati|ซินซินเนติ]] เริ่มต้นจาก[[Krogers|โครเจอร์ โกรเซอรี]]มาขอให้ผลิตสินค้าที่ใช้สำหรับทำความสะอาดคราบตกค้างของ[[coal|ถ่าน]]ที่ติดที่ผนังห้อง<ref>''[http://www.cbc.ca/undertheinfluence/season-1/2012/03/17/accidental-brands-1/ "Accidental Brands"], from [[Under the Influence (radio documentary series)|Under the Influence]]'', by [[Terry O'Reilly (broadcaster)|Terry O'Reilly]], on [[CBC.ca]]; first broadcast March 17, 2012</ref> แต่ในช่วงหลังเกิด[[World War II|สงครามโลกครั้งที่สอง]]มีการใช้[[natural gas|แก๊สธรรมชาติ]]มาแทนการเผาถ่านหินเพื่อให้ความอบอุ่นในบ้าน ทำให้เขม่าควันที่เกิดขึ้นในบ้านลดลง ประกอบกับมีการใช้ผนังห้องแบบ[[vinyl|ไวนิล]]ที่สามารถล้างออกได้ง่ายเข้ามาแทนผนังแบบเก่า ทำให้ตลาดธุรกิจของสินค้าที่ใช้ทำความสะอาดผนังซบเซาลงอย่างมาก โจ แมควิคเกอร์(หลายชายของแมควิคเกอร์) ร่วมงานกับคูตอล พยายามประคองไม่ให้บริษัทล้มละลาย เขาพบว่า มีการใช้สินค้าทำความสะอาดคราบผนังนี้ไปประดับต้นคริสมาสต์ตามโรงเรียนเด็กเล็กต่างๆ<ref name="Walsh" />


=== การนำเสนอสินค้า ===
=== การนำเสนอสินค้า ===
โจ แมควิคเกอร์ ได้นำเสนอสินค้าเพลย์โดว์ในงานประชุมทางการศึกษากับบริษัทที่คอยหาสินค้าให้กับโรงแรียนต่างๆ<ref name="Walsh">{{cite book |last= Walsh |first= Tim |year= 2005 |title= Timeless Toys: Classic Toys and the Playmakers Who Created Them |chapter=Play-doh |chapterurl=http://books.google.com/books?id=jftapGDTmYUC&pg=PA115 |publisher= Andrews McMeel Publishing |location= Kansas City |isbn= 978-0-7407-5571-2 |pages= 115–120}}</ref> และห้างชื่อดัง[[Woodward & Lothrop|วู้ดเวิด แอนด์ โลธอป]]ใน[[Washington, DC|เมืองวอชิงตัน, ดีซี]] เริ่มวางขายสินค้าเพลย์โดว์<ref name="OhioC">{{cite web |url=http://www.ohiohistorycentral.org/w/Rainbow_Crafts_Company,_Inc. |title=Rainbow Crafts Company, Inc. |accessdate=30 October 2008 |publisher=Ohio History Central |date=28 July 2006}}</ref> ในปี 1956 ตระกูลแมควิคเกอร์ได้ก่อตั้งบริษัทเรนโบว์ คราฟท์เพื่อผลิดตและจำหน่ายเพลย์โดว์<ref>{{cite web|author=Phil Ament |url=http://www.ideafinder.com/history/inventions/playdoh.htm |title=Play-Doh History - Invention of Play-Doh |publisher=Ideafinder.com |accessdate=2011-05-23}}</ref> และในปีเดียวกันนี้ มีการเพิ่มไลน์การผลิตของเพลย์โดว์แบบแพ็คสามกระป๋อง (กระป๋องละ 7 ออนซ์) และมีการสาธิตตามร้านค้าต่างๆ ต่อมามีการเปิดร้านขายในห้าง[[Macy's|เมซี่]]ใน[[New York City|นิวยอร์ก]] และห้าง[[Marshall Field's|มาร์แชล ฟิลด์]]ใน[[Chicago, Illinois|ชิคาโก]] เมื่อปี 1957 ด็อกเตอร์เทียน หลิว(นักเคมีวิทยา)ได้ลดปริมาณของเกลือในเพลย์โดว์(เพื่อให้แป้งโดว์แห้งโดยที่สีไม่ซีด) มีการโฆษณาเพลย์โดว์ทางโทรทัศน์ตามรายการเด็กต่างๆ ''[[Captain Kangaroo|กัปตันจิงโจ้]]'', ''[[Ding Dong School|โรงเรียนดิงดอง]]'', และ ''[[Romper Room|ห้องรอมเปอร์]]'' ในปี 1958เพลย์โดว์มียอดขายเกือบ 3 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ.<ref name="Walsh" />
โจ แมควิคเกอร์ ได้นำเสนอสินค้าเพลย์โดว์ในงานประชุมทางการศึกษากับบริษัทที่คอยหาสินค้าให้กับโรงเรียนต่างๆ<ref name="Walsh">{{cite book |last= Walsh |first= Tim |year= 2005 |title= Timeless Toys: Classic Toys and the Playmakers Who Created Them |chapter=Play-doh |chapterurl=http://books.google.com/books?id=jftapGDTmYUC&pg=PA115 |publisher= Andrews McMeel Publishing |location= Kansas City |isbn= 978-0-7407-5571-2 |pages= 115–120}}</ref> และห้างชื่อดัง[[Woodward & Lothrop|วู้ดเวิด แอนด์ โลธอป]]ใน[[Washington, DC|เมืองวอชิงตัน, ดีซี]] เริ่มวางขายสินค้าเพลย์โดว์<ref name="OhioC">{{cite web |url=http://www.ohiohistorycentral.org/w/Rainbow_Crafts_Company,_Inc. |title=Rainbow Crafts Company, Inc. |accessdate=30 October 2008 |publisher=Ohio History Central |date=28 July 2006}}</ref> ในปี 1956 ตระกูลแมควิคเกอร์ได้ก่อตั้งบริษัทเรนโบว์ คราฟท์เพื่อผลิตและจำหน่ายเพลย์โดว์<ref>{{cite web|author=Phil Ament |url=http://www.ideafinder.com/history/inventions/playdoh.htm |title=Play-Doh History - Invention of Play-Doh |publisher=Ideafinder.com |accessdate=2011-05-23}}</ref> และในปีเดียวกันนี้ มีการเพิ่มไลน์การผลิตของเพลย์โดว์แบบแพ็คสามกระป๋อง (กระป๋องละ 7 ออนซ์) และมีการสาธิตตามร้านค้าต่างๆ ต่อมามีการเปิดร้านขายในห้าง[[Macy's|เมซี่]]ใน[[New York City|นิวยอร์ก]] และห้าง[[Marshall Field's|มาร์แชล ฟิลด์]]ใน[[Chicago, Illinois|ชิคาโก]] เมื่อปี 1957 ด็อกเตอร์เทียน หลิว(นักเคมีวิทยา)ได้ลดปริมาณของเกลือในเพลย์โดว์(เพื่อให้แป้งโดว์แห้งโดยที่สีไม่ซีด) มีการโฆษณาเพลย์โดว์ทางโทรทัศน์ตามรายการเด็กต่างๆ ''[[Captain Kangaroo|กัปตันจิงโจ้]]'', ''[[Ding Dong School|โรงเรียนดิงดอง]]'', และ ''[[Romper Room|ห้องรอมเปอร์]]'' ในปี 1958เพลย์โดว์มียอดขายเกือบ 3 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ.<ref name="Walsh" />


=== การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ===
=== การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ===
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
[[ไฟล์:Playdoh.jpg|thumb|เพลย์โดว์ ฟัน แฟคตอรี่]]
[[ไฟล์:Playdoh.jpg|thumb|เพลย์โดว์ ฟัน แฟคตอรี่]]


ในปี 1960 บ๊อบ บ๊อคไกลด์และบิลล์ เดลได้คิดค้นเพลย์โดว์ชุดโรงงานแสนสนุก(ฟัน แฟคทอรี่) (เป็นอุปกรณ์กดแป้งโดว์ให้ออกมาเป็นรูปร่างหลายๆแบบ)<ref name="Walsh" /> ต่อมาปี 1977 มีเพลย์โดว์ชุดร้านทำผมสวยๆชุดชิค(ฟัซซี่ ปั้มเปอร์ บาร์เบอร์แอนด์บิวตี้ ช็อป) ประกอบไปด้วยตุ๊กตาตัวเล็กๆที่มีรูสามารถดันแป้งโดว์ออกมาเป็นผมได้ ในปี 1996 มีการเปิดตัว ''เพลย์โดว์ ครีเอชั่น'', เป็นซีดีซอฟแวร์เพื่อการศึกษา ในปี 2003 มีการจำหน่ายเพลย์โดว์โต๊ะสร้างสรรค์พาสนุก(ครีเอทิวิตี้ เทเบิ้ล) ช่วงครบรอบในปี 2007 มีสินค้าออกมาอีกมากมาย เพลย์โดว์ชุดวันเกิด(เบิร์ดเดย์ บัคเก็ต), เพลย์โดว์แพ็ครวมห้าสิบสี(ฟิฟตี้ คัลเลอร์ส แพ็ค), ชุดร้านตัดผมแสรสนุก(ฟัซซี่ ปั้มเปอร์ เครซี่ คัทส์) (เป็นการปรับปรุงมาจากชุดร้านทำผมรุ่นเก่าของปี 1977), และเพลย์โดว์สุดสร้างสรรค์(ครีเอทิวิตี้ เซ็นเตอร์)<ref name="Sobey" /> ในปี 2013 มีการเปิดตัว "เพลย์โดว์พลัส" จะน้ำหนักเบากว่า ยืดหยุ่นกว่า และนุ่มกว่า เพลย์โดว์แบบธรรมดา
ในปี 1960 บ๊อบ บ๊อคไกลด์และบิลล์ เดลได้คิดค้นเพลย์โดว์ชุดโรงงานแสนสนุก(ฟัน แฟคทอรี่) (เป็นอุปกรณ์กดแป้งโดว์ให้ออกมาเป็นรูปร่างหลายๆแบบ)<ref name="Walsh" /> ต่อมาปี 1977 มีเพลย์โดว์ชุดร้านทำผมสวยๆชุดชิค(ฟัซซี่ ปั้มเปอร์ บาร์เบอร์แอนด์บิวตี้ ช็อป) ประกอบไปด้วยตุ๊กตาตัวเล็กๆที่มีรูสามารถดันแป้งโดว์ออกมาเป็นผมได้ ในปี 1996 มีการเปิดตัว ''เพลย์โดว์ ครีเอชั่น'', เป็นซีดีซอฟแวร์เพื่อการศึกษา ในปี 2003 มีการจำหน่ายเพลย์โดว์โต๊ะสร้างสรรค์พาสนุก(ครีเอทิวิตี้ เทเบิ้ล) ช่วงครบรอบในปี 2007 มีสินค้าออกมาอีกมากมาย เพลย์โดว์ชุดวันเกิด(เบิร์ดเดย์ บัคเก็ต), เพลย์โดว์แพ็ครวมห้าสิบสี(ฟิฟตี้ คัลเลอร์ส แพ็ค), ชุดร้านตัดผมแสนสนุก(ฟัซซี่ ปั้มเปอร์ เครซี่ คัทส์) (เป็นการปรับปรุงมาจากชุดร้านทำผมรุ่นเก่าของปี 1977), และเพลย์โดว์สุดสร้างสรรค์(ครีเอทิวิตี้ เซ็นเตอร์)<ref name="Sobey" /> ในปี 2013 มีการเปิดตัว "เพลย์โดว์พลัส" จะน้ำหนักเบากว่า ยืดหยุ่นกว่า และนุ่มกว่า เพลย์โดว์แบบธรรมดา


== ผลทางวัฒนธรรม ==
== ผลทางวัฒนธรรม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:59, 11 มกราคม 2560

เพลย์โดว์ (แป้งโดว์) คือ ของที่เด็กๆใช้ปั้นขึ้นมาเป็นรูปร่างต่างๆ สร้างสรรค์ขึ้นมาเป็นงานศิลปะ ปั้นเล่นสนุกๆที่บ้านหรือไม่ก็ปั้นส่งงานที่โรงเรียน แป้งโดว์ทำมาจากแป้ง, น้ำ, เกลือ, กรดบอริก, และ น้ำมันแร่(มิเนอรัล ออยล์) ในยุค 1930 มีการผลิตสินค้าในเมืองซินซินเนติ, โอไฮโอ, สหรัฐอเมริกา จุดประสงค์เพื่อใช้ทำความสะอาดผนัง[1] ต่อมาช่วงยุค 1950 ตามโรงเรียนเริ่มเอาสินค้านี้มาให้เด็กๆปั้นเล่น ทำให้มีการปรับปรุงสินค้าใหม่ในช่วงกลางของยุค 1950 และกลายเป็นที่นิยมมากตามโรงเรียนต่างๆในซินซินเนติ ในปี 1956 มีการสาธิตวิธีการใช้เพลย์โดว์ในงานประชุมทางการศึกษา และเริ่มเปิดร้านขายตามห้างสรรพสินค้าใหญ่ๆ[2] ในปี 1957 มีการทำโฆษณาเพลย์โดว์ตามรายการโทรทัศน์ที่เด็กๆชื่นชอบ ซึ่งเพิ่มยอดขายได้เป็นจำนวนมาก[1] ตั้งแต่ช่วงกลางของยุค 1950 เพลย์โดว์ได้เข้าสู่ตลาดของเล่นเด็ก และได้เพิ่มยอดจำนวนสินค้าอย่างมีนัยสำคัญ เช่น เพลย์โดว์ชุดโรงงานแสนสนุก(ฟัน แฟคทอรี่)[3] ในปี 2003 สมาคมอุตสาหกรรมของเล่นได้ยกให้เพลย์โดว์นี้เป็นหนึ่งใน "ของเล่นแห่งศตวรรษ"[4]

ประวัติ

จุดเรื่มต้น

วัตถุสร้างจากเพลย์โดว์

เพลย์ โดว์ หรือแป้งโดว์ เป็นที่รู้จักกันว่าไร้สารพิษ ไม่มีการย้อมสี สามารถนำมาใช้ปั้นให้เป็นรูปร่างใหม่ๆได้อีก แต่แท้จริงแล้วเพลย์โดว์เป็นสารที่ยืดหยุ่นง่าย คล้ายๆกับพวกปูนที่ใช้อุดรอยรั่ว คิดค้นโดย โนอาห์ แมควิคเกอร์ ซึ่งทำงานอยู่ที่บริษัท คูตอล โปรดักส์ ผลิตสารตั้งต้นของสบู่ ในเมืองซินซินเนติ เริ่มต้นจากโครเจอร์ โกรเซอรีมาขอให้ผลิตสินค้าที่ใช้สำหรับทำความสะอาดคราบตกค้างของถ่านที่ติดที่ผนังห้อง[5] แต่ในช่วงหลังเกิดสงครามโลกครั้งที่สองมีการใช้แก๊สธรรมชาติมาแทนการเผาถ่านหินเพื่อให้ความอบอุ่นในบ้าน ทำให้เขม่าควันที่เกิดขึ้นในบ้านลดลง ประกอบกับมีการใช้ผนังห้องแบบไวนิลที่สามารถล้างออกได้ง่ายเข้ามาแทนผนังแบบเก่า ทำให้ตลาดธุรกิจของสินค้าที่ใช้ทำความสะอาดผนังซบเซาลงอย่างมาก โจ แมควิคเกอร์(หลายชายของแมควิคเกอร์) ร่วมงานกับคูตอล พยายามประคองไม่ให้บริษัทล้มละลาย เขาพบว่า มีการใช้สินค้าทำความสะอาดคราบผนังนี้ไปประดับต้นคริสมาสต์ตามโรงเรียนเด็กเล็กต่างๆ[1]

การนำเสนอสินค้า

โจ แมควิคเกอร์ ได้นำเสนอสินค้าเพลย์โดว์ในงานประชุมทางการศึกษากับบริษัทที่คอยหาสินค้าให้กับโรงเรียนต่างๆ[1] และห้างชื่อดังวู้ดเวิด แอนด์ โลธอปในเมืองวอชิงตัน, ดีซี เริ่มวางขายสินค้าเพลย์โดว์[6] ในปี 1956 ตระกูลแมควิคเกอร์ได้ก่อตั้งบริษัทเรนโบว์ คราฟท์เพื่อผลิตและจำหน่ายเพลย์โดว์[7] และในปีเดียวกันนี้ มีการเพิ่มไลน์การผลิตของเพลย์โดว์แบบแพ็คสามกระป๋อง (กระป๋องละ 7 ออนซ์) และมีการสาธิตตามร้านค้าต่างๆ ต่อมามีการเปิดร้านขายในห้างเมซี่ในนิวยอร์ก และห้างมาร์แชล ฟิลด์ในชิคาโก เมื่อปี 1957 ด็อกเตอร์เทียน หลิว(นักเคมีวิทยา)ได้ลดปริมาณของเกลือในเพลย์โดว์(เพื่อให้แป้งโดว์แห้งโดยที่สีไม่ซีด) มีการโฆษณาเพลย์โดว์ทางโทรทัศน์ตามรายการเด็กต่างๆ กัปตันจิงโจ้, โรงเรียนดิงดอง, และ ห้องรอมเปอร์ ในปี 1958เพลย์โดว์มียอดขายเกือบ 3 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ.[1]

การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

ในปี 1964 เพลย์โดว์ส่งออกไปประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส และอิตาลี[1] ช่วงยุค 1980 ได้เลิกใช้กระดาษแปะข้างกระป๋อง (รวมถึงฝาข้างใต้ที่ทำจากเหล็กทำให้เกิดสนิม) มาใช้กระป๋องพลาสติกซึ่งเก็บได้ดีกว่าแทน[8] ก่อนนั้นในปี 1965 บริษัทเรนโบว์ คราฟท์จดสิทธิบัตรเพลย์โดว์ไว้[9] แต่ต่อมาในปีเดียวกันนั้น เจอเนรัล มิลส์ ซื้อเรนโบว์ คราฟท์ ทั้งหมดรวมถึงเพลย์โดว์ ในราคา 3ล้านดอลล่าร์สหรัฐ และได้ใช้สารประกอบของเคนเนอร์ โปรดักส์เองแทนสารประกอบเดิม.[1][6] ในปี 1971 ได้รวมบริษัทเรนโบว์ คราฟท์ และ เคนเนอร์ โปรดักส์ เข้าด้วยกันและในปี 1987 ตันก้า คอร์ปอเรชั่น ได้ซื้อขึ้นมาทั้งหมด ต่อมาปี 1991แฮสโบร กลายมาเป็นเจ้าของสินค้าเพลย์โดว์ และผลิตจำหน่ายมาจนถึงทุกวันนี้ ผ่านบริษัทลูกชื่อว่า เพลย์สคูล[1] ในปี 1996 เพลย์โดว์เพิ่มสีทอง และสีเงินเพื่อฉลองที่ครบรอบ 40 ปี

สัญลักษณ์

กลางปี 1950 ข้างกระป๋องเพลย์โดว์จะเป็นรูปวาดของเด็กๆ ต่อมาในปี 1960 ได้เปลี่ยนมาใช้สัญลักษณ์รูปภูตเอลฟ์ แต่ภายหลังก็เปลี่ยนมาใช้รูปเพลย์โดว์พีท เป็นการ์ตูนเด็กผู้ชายสวมเสื้อสม็อคและหมวกบาเรตต์[1] เมื่อปี 2002 ได้เปลี่ยนหมวกบาเรตต์ของพีทมาเป็นหมวกเบสบอลแทน[1] ตั้งแต่นั้นจะได้เห็นเพลย์โดว์พีทมีชีวิตร่าเริงในโฆษณาเรื่อยมา จากนั้นมีน้องใหม่ชื่อ ทับบี้ ในช่วงพบปะพูดคุยที่งานมหกรรมของเล่น ปี 2012

ส่วนประกอบ

ผู้ผลิตเพลย์โดว์ แฮสโบร เผยส่วนประกอบของเพลย์โดว์ ดังนี้ น้ำ, เกลือ, และ แป้ง,[2] ซึ่งในปี 2004 สิทธิบัตรสหรัฐอเมริการะบุว่า เพลย์โดว์ประกอบไปด้วย น้ำ, สารยึดเกาะตั้งต้นของแป้ง, สารยับยั้งการคืนตัว, เกลือ, สารหล่อลื่น, สารลดแรงตึงผิว, วัตถุกันเสีย, ตัวทำให้แข็ง, สารดูดความชื้น, น้ำหอม, และสี[10] เติมปิโตรเลียม เพื่อให้สัมผัสที่นุ่มลื่น ส่วนบอแร็กซ์ช่วยไม่ให้ขึ้นรา[3] ส่วนแป้งโดว์ที่ทำกันเองตามบ้านนั้นมักจะผสมจากเกลือ, แป้งสาลีหรือแป้งข้าวโพด, น้ำมันพืช (อย่างเช่นน้ำมันคาโนล่า หรือน้ำมันมะกอก) และ ครีมออฟทาร์ทาร์[11]

สินค้าที่เกี่ยวข้อง

เพลย์โดว์ ฟัน แฟคตอรี่

ในปี 1960 บ๊อบ บ๊อคไกลด์และบิลล์ เดลได้คิดค้นเพลย์โดว์ชุดโรงงานแสนสนุก(ฟัน แฟคทอรี่) (เป็นอุปกรณ์กดแป้งโดว์ให้ออกมาเป็นรูปร่างหลายๆแบบ)[1] ต่อมาปี 1977 มีเพลย์โดว์ชุดร้านทำผมสวยๆชุดชิค(ฟัซซี่ ปั้มเปอร์ บาร์เบอร์แอนด์บิวตี้ ช็อป) ประกอบไปด้วยตุ๊กตาตัวเล็กๆที่มีรูสามารถดันแป้งโดว์ออกมาเป็นผมได้ ในปี 1996 มีการเปิดตัว เพลย์โดว์ ครีเอชั่น, เป็นซีดีซอฟแวร์เพื่อการศึกษา ในปี 2003 มีการจำหน่ายเพลย์โดว์โต๊ะสร้างสรรค์พาสนุก(ครีเอทิวิตี้ เทเบิ้ล) ช่วงครบรอบในปี 2007 มีสินค้าออกมาอีกมากมาย เพลย์โดว์ชุดวันเกิด(เบิร์ดเดย์ บัคเก็ต), เพลย์โดว์แพ็ครวมห้าสิบสี(ฟิฟตี้ คัลเลอร์ส แพ็ค), ชุดร้านตัดผมแสนสนุก(ฟัซซี่ ปั้มเปอร์ เครซี่ คัทส์) (เป็นการปรับปรุงมาจากชุดร้านทำผมรุ่นเก่าของปี 1977), และเพลย์โดว์สุดสร้างสรรค์(ครีเอทิวิตี้ เซ็นเตอร์)[3] ในปี 2013 มีการเปิดตัว "เพลย์โดว์พลัส" จะน้ำหนักเบากว่า ยืดหยุ่นกว่า และนุ่มกว่า เพลย์โดว์แบบธรรมดา

ผลทางวัฒนธรรม

ยอดจำหน่ายของเพลย์โดว์ในช่วงปี 1955-2005 มีมากกว่า 2 พันล้านกระป๋อง[1] และในปี 2005 เริ่มมีการจำหน่ายเพลย์โดว์ใน 75 ประเทศทั่วโลก รวมแล้วประมาณ 95 ล้านกระป๋องต่อปี[1] ในประเทศสหรัฐอเมริกา มีมากกว่า 6,000 ร้านค้าที่จำหน่ายเพลย์โดว์[12]

ในคราวที่เพลย์โดว์ครบรอบ 15 ปี ดีมีเทอร์ ฟราแกรนซ์ ไลบรารี่ คิดค้นน้ำหอมที่ได้แรงบันดาลใจมาจากกลิ่นของเพลย์โดว์ในจำนวนจำกัด นิยามกลิ่นนี้ว่า "สำหรับผู้ที่ชอบสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ผู้ที่ตามหากลิ่นพิเศษซึ่งเตือนให้ระลึกถึงวัยเด็ก"[2]

เมื่อปี 1998 เพลย์โดว์ ได้เป็นหนึ่งในของเล่นที่นิยมแห่งชาติ โดยเดอะสตรอง ในเมืองโรเชสเตอร์, นิวยอร์ก

เมื่อปี 2003 สมาคมอุตสาหกรรมของเล่น ได้เพิ่มเพลย์โดว์ใน "ของเล่นแห่งศตวรรษ" ในรายการของเล่น 100 ชิ้นที่เป็นที่จดจำและเป็นผลงานชิ้นสร้างสรรค์ที่สุดในยุคศตวรรษที่ 20[4]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 1.12 Walsh, Tim (2005). "Play-doh". Timeless Toys: Classic Toys and the Playmakers Who Created Them. Kansas City: Andrews McMeel Publishing. pp. 115–120. ISBN 978-0-7407-5571-2. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |chapterurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|chapter-url=) (help)
  2. 2.0 2.1 2.2 Wilson, Tracy V. "How Play-Doh Modeling Compound Works". How Stuff Works. สืบค้นเมื่อ 19 February 2009.
  3. 3.0 3.1 3.2 Sobey, Edwin J.C. (2008). The Way Toys Work: The Science Behind the Magic 8 Ball, Etch A Sketch, Boomerang, and More. Chicago Review Press. p. 96. ISBN 978-1-55652-745-6. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  4. 4.0 4.1 "Toy Industry Association Announces Its Century of Toys List". Business Wire. 21 January 2003. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 February 2009. สืบค้นเมื่อ 19 February 2009.
  5. "Accidental Brands", from Under the Influence, by Terry O'Reilly, on CBC.ca; first broadcast March 17, 2012
  6. 6.0 6.1 "Rainbow Crafts Company, Inc". Ohio History Central. 28 July 2006. สืบค้นเมื่อ 30 October 2008.
  7. Phil Ament. "Play-Doh History - Invention of Play-Doh". Ideafinder.com. สืบค้นเมื่อ 2011-05-23.
  8. "The 50 Year History of Play-Doh". 2006. สืบค้นเมื่อ 19 February 2009.
  9. Noah W. McVicker and Joseph S. McVicker, "Plastic modeling composition of a soft, pliable working consistency," U.S. patent no. 3,167,440 (filed: May 17, 1960; issued: January 26, 1965).
  10. "Patent Storm". สืบค้นเมื่อ 19 February 2009.
  11. How to Make Playdough, How to Make Playdough Dot Net
  12. HowStuffWorks "How Play-Doh Modeling Compound Works"

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Hasbro