ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สิงอี้เฉวียน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PakpongICCH444 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
JackieBot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Replacements: fix URL prefix
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''สิงอี้เฉวียน''' ({{zh|c=形意拳|p=xíng yì quán}}) เป็นหนึ่งในศิลปะต่อสู้ป้องกันตัวของ[[บู๊ตึ๊ง]]<ref name="Sun Lu Tang 2000 3">{{cite book|author=Sun Lu Tang|title=Xing Yi Quan Xue|year=2000|page=3|publisher=Unique Publications|isbn=0-86568-185-6}}</ref> คำว่า สิง (形) แปลว่า รูปลักษณ์ ส่วนคำว่า อี้ (意) หมายถึง [[จิต]] เมื่อรวมกันจึงเข้าใจได้ว่า มวยสิงอี้ให้ความสำคัญแก่การฝึกจิตสำนึกและรูปลักษณ์<ref>{{Cite web
'''สิงอี้เฉวียน''' ({{zh|c=形意拳|p=xíng yì quán}}) เป็นหนึ่งในศิลปะต่อสู้ป้องกันตัวของ[[บู๊ตึ๊ง]]<ref name="Sun Lu Tang 2000 3">{{cite book|author=Sun Lu Tang|title=Xing Yi Quan Xue|year=2000|page=3|publisher=Unique Publications|isbn=0-86568-185-6}}</ref> คำว่า สิง (形) แปลว่า รูปลักษณ์ ส่วนคำว่า อี้ (意) หมายถึง [[จิต]] เมื่อรวมกันจึงเข้าใจได้ว่า มวยสิงอี้ให้ความสำคัญแก่การฝึกจิตสำนึกและรูปลักษณ์<ref>{{Cite web
|url=http://http://www.thaineijia.com/chinese-martial-arts/xingyiquan/item/140-basic-principle.html|title=หลักการและจุดเด่นของมวยสิ่งอี้|accessdate=2015-26-11}}</ref> ลักษณะของมวยสิงอี้คือการโจมตีเป็นเส้นตรงอย่างรุนแรงและทรงพลังในระยะสั้น ผู้ฝึกฝนมวยสิงอี้ใช้การเคลื่อนไหวประสานเพื่อสร้างพลังงานที่ใช้ในการเอาชนะคู่ต่อสู้ในขณะนั้นก็ป้องกันตัวพร้อมกับที่โจมตี รูปแบบวัธีจะแตกต่างกันไปตามสำนักแต่ทุกสำนักจะฝึกต่อสู้มือเปล่าโดยมีทั้งแบบเคลื่อนไหวเดียวและหลายรูปแบบ รวมถึงการฝึกฝนการใช้อาวุธที่มีระบบกระบวนท่าเดียวกับการฝึกต่อสู้มือเปล่า ความเข้าใจพื้นฐานในการเคลื่อนไหวร่างกายได้ถูกกำหนดจากการใช้ทวนหรือไม้พลอง
|url=http://www.thaineijia.com/chinese-martial-arts/xingyiquan/item/140-basic-principle.html|title=หลักการและจุดเด่นของมวยสิ่งอี้|accessdate=2015-26-11}}</ref> ลักษณะของมวยสิงอี้คือการโจมตีเป็นเส้นตรงอย่างรุนแรงและทรงพลังในระยะสั้น ผู้ฝึกฝนมวยสิงอี้ใช้การเคลื่อนไหวประสานเพื่อสร้างพลังงานที่ใช้ในการเอาชนะคู่ต่อสู้ในขณะนั้นก็ป้องกันตัวพร้อมกับที่โจมตี รูปแบบวัธีจะแตกต่างกันไปตามสำนักแต่ทุกสำนักจะฝึกต่อสู้มือเปล่าโดยมีทั้งแบบเคลื่อนไหวเดียวและหลายรูปแบบ รวมถึงการฝึกฝนการใช้อาวุธที่มีระบบกระบวนท่าเดียวกับการฝึกต่อสู้มือเปล่า ความเข้าใจพื้นฐานในการเคลื่อนไหวร่างกายได้ถูกกำหนดจากการใช้ทวนหรือไม้พลอง


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:09, 27 มีนาคม 2559

สิงอี้เฉวียน (จีน: 形意拳; พินอิน: xíng yì quán) เป็นหนึ่งในศิลปะต่อสู้ป้องกันตัวของบู๊ตึ๊ง[1] คำว่า สิง (形) แปลว่า รูปลักษณ์ ส่วนคำว่า อี้ (意) หมายถึง จิต เมื่อรวมกันจึงเข้าใจได้ว่า มวยสิงอี้ให้ความสำคัญแก่การฝึกจิตสำนึกและรูปลักษณ์[2] ลักษณะของมวยสิงอี้คือการโจมตีเป็นเส้นตรงอย่างรุนแรงและทรงพลังในระยะสั้น ผู้ฝึกฝนมวยสิงอี้ใช้การเคลื่อนไหวประสานเพื่อสร้างพลังงานที่ใช้ในการเอาชนะคู่ต่อสู้ในขณะนั้นก็ป้องกันตัวพร้อมกับที่โจมตี รูปแบบวัธีจะแตกต่างกันไปตามสำนักแต่ทุกสำนักจะฝึกต่อสู้มือเปล่าโดยมีทั้งแบบเคลื่อนไหวเดียวและหลายรูปแบบ รวมถึงการฝึกฝนการใช้อาวุธที่มีระบบกระบวนท่าเดียวกับการฝึกต่อสู้มือเปล่า ความเข้าใจพื้นฐานในการเคลื่อนไหวร่างกายได้ถูกกำหนดจากการใช้ทวนหรือไม้พลอง

ประวัติ

ตำนาน

หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรของมวยสิ่งอีเฉวียนสามารถแกะรอยไปได้ถึงช่วงศตวรรษที่18 ถึงหม่า เสวี่ยหลี่แห่งมณฑลเหอหนานและ ไต้หลงปังแห่งมณฑลซานซี ตำนานได้กล่าวถึงนายพลเยว่ เฟย์ผู้มีชื่อเสียงในสมัยราชวงศ์ซ่งว่าเป็นผู้สร้างมวยสิงอี้[3] แต่ทฤษฎีนี้ก็ยังไม่เป็นที่ยืนยัน[4]

จากหนังสือ Henan Orthodox Xingyi Quan อาจารย์มวยสิงอี้ไต้หลงปังเคยเขียนตำราอารัมภบทของมวยหกประสาน ในนั้นว่าด้วยวัยเด็กของเยว่ เฟย์ที่ได้รับการสอนในการต่อสู้ด้วยทวนและได้พัฒนาจนมีความเชี่ยวชาญและในที่สุดก็ได้ทักษะทวนสร้างวิชามวยขึ้นมาชื่อว่าอี้หยวน หรือ "มวยจิตใจ" ที่ได้เป็นที่ยกย่องว่าเป็นมวนที่มีความประณีตล้ำลึกกว่ามวยที่เคยมีมา[5]

อ้างอิง

  1. Sun Lu Tang (2000). Xing Yi Quan Xue. Unique Publications. p. 3. ISBN 0-86568-185-6.
  2. "หลักการและจุดเด่นของมวยสิ่งอี้". สืบค้นเมื่อ 2015-26-11. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. Article by martial arts historian Brian Kennedy
  4. http://daixinyi.blogspot.se/2010/04/10-questions-about-xinyiquan-by-zhang.html
  5. Pei, Xirong and Li, Yang’an. Henan Orthodox Xingyi Quan. Trans. Joseph Candrall. Pinole: Smiling Tiger Press, 1994.