ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องฉายภาพ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Wap (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Projection-screen-home2.jpg|thumb|ภาพจากเครื่องโปรเจกต์เตอร์ที่ใช้ในระบบโฮมเทียเตอร์]]
[[ไฟล์:Projection-screen-home2.jpg|thumb|ภาพจากเครื่องฉายภาพที่ใช้ในระบบโฮมเทียเตอร์]]
'''วิดีโอโปรเจกต์เตอร์''' ({{lang-en|video projector}}) เป็นเครื่องฉายภาพจาก[[สัญญานวิดีโอ]] ผ่านระบบ[[เลนส์]]ไปยัง[[ฉากรับภาพ]] โดยใช้ไฟที่สว่างและจ้าในการฉายภาพ โดยเครื่องโปรเจกต์เตอร์รุ่นใหม่ สามารถแก้ไข ส่วนโค้งเว้า ความคมชัด ส่วนประกอบของภาพ และ อื่นๆ ด้วยการปรับโดยผู้ใช้เอง วิดีโอโปรเจกต์เตอร์ ถุกใช้อย่างกว้างขวางในการนำเสนองานในห้องประชุม ห้องเรียน หรือ แม้แต่ ใช้เป็น โฮมเทียเตอร์ โปรเจกต์เตอร์ จึงกลายเป็นที่นิยมและถูกใช้อย่างกว้างขวาง


'''เครื่องฉายภาพ''' หรือ '''วิดีโอโปรเจกเตอร์''' ({{lang-en|video projector}}) เป็นอุปกรณ์สำหรับฉายภาพจาก[[สัญญานวิดีโอ]] ผ่านระบบ[[เลนส์]]ไปยัง[[ฉากรับภาพ]] โดยใช้ไฟที่สว่างและจ้าในการฉายภาพ โดยเครื่องฉายภาพรุ่นใหม่ สามารถแก้ไข ส่วนโค้งเว้า ความคมชัด ส่วนประกอบของภาพ และอื่น ด้วยการปรับโดยผู้ใช้เอง วิดีโอเครื่องฉายภาพ ถุกใช้อย่างกว้างขวางในการนำเสนองานในห้องประชุม ห้องเรียน หรือ แม้แต่ ใช้เป็น โฮมเทียเตอร์ เครื่องฉายภาพ จึงกลายเป็นที่นิยมและถูกใช้อย่างกว้างขวาง
เครื่องโปรเจกต์เตอร์ในปัจจุบัน มีเทคโนโลยีที่ใช้ 3 ชนิด คือ

เครื่องเครื่องฉายภาพในปัจจุบัน มีเทคโนโลยีที่ใช้ 3 ชนิด คือ


[[ไฟล์:Kalht 01.jpg|thumb|เครื่องฉายภาพแบบซีอาร์ที]]
[[ไฟล์:Kalht 01.jpg|thumb|เครื่องฉายภาพแบบซีอาร์ที]]
* '''โปรเจกต์เตอร์ชนิด [[CRT]]''' (CRT projecter) ใช้ หลอดลำแสงแคโธด จะมีสามหลอดสี คือ [[สีน้ำเงิน]] [[สีเขียว]] และ[[สีแดง]] โดยหลอดสีทั้งสามสามารถเลื่อนเพื่อปรับองศาของภาพให้ถูกต้องได้ โปรเจกต์เตอร์ชนิดนี้เป็นชนิดที่เก่าแก่ที่สุด ไม่จำเป็นต้องดูแลรักษามาก แต่ดูไม่สวยงามเพราะเครื่องฉายมีขนาดใหญ่ แต่มีข้อดีคือสามารถฉายภาพให้เป็นภาพขนาดใหญ่ในราคาที่ถูกกว่า
* '''เครื่องฉายภาพชนิด[[หลอดรังสีแคโทด]]''' (CRT projector) ใช้หลอดรังสีแคโทด จะมีสามหลอดสี คือ [[สีน้ำเงิน]] [[สีเขียว]] และ[[สีแดง]] โดยหลอดสีทั้งสามสามารถเลื่อนเพื่อปรับองศาของภาพให้ถูกต้องได้ เครื่องฉายภาพชนิดนี้เป็นชนิดที่เก่าแก่ที่สุด ไม่จำเป็นต้องดูแลรักษามาก แต่ดูไม่สวยงามเพราะเครื่องฉายมีขนาดใหญ่ แต่มีข้อดีคือสามารถฉายภาพให้เป็นภาพขนาดใหญ่ในราคาที่ถูกกว่า


* '''โปรเจกต์เตอร์ชนิดฉายแสงผ่านแผ่น[[แอลซีดี]]''' (LCD projector) เป็นโปรเจกต์เตอร์ที่มีระบบกลไกข้างในที่ไม่ซับซ้อน ทำให้เป็นโปรเจกต์เตอร์ที่ถูกใช้อย่างกว้างขวาง เพราะราคาถูก โปรเจกต์เตอร์ชนิดนี้มีปัญหาด้านการมองเรียกว่า screen door effect หรือ pixilation effect ซึ่งเราจะมองเห็นภาพเป็น จุด เป็นเหลี่ยมขนาดเล็ก และหลอดไฟมีราคาสูง
* '''เครื่องฉายภาพชนิดฉายแสงผ่านแผ่น[[แอลซีดี]]''' (LCD projector) เป็นเครื่องฉายภาพที่มีระบบกลไกข้างในที่ไม่ซับซ้อน ทำให้เป็นเครื่องฉายภาพที่ถูกใช้อย่างกว้างขวาง เพราะราคาถูก เครื่องฉายภาพชนิดนี้มีปัญหาด้านการมองเรียกว่า screen door effect หรือ pixilation effect ซึ่งเราจะมองเห็นภาพเป็นจุด เป็นเหลี่ยมขนาดเล็ก และหลอดไฟมีราคาสูง


การฉายภาพบนโปรเจกต์เตอร์ชนิดแอลซีดี ใช้หลอดไฟชนิด[[เมทัลฮาไลด์]] ส่งแสงไปยัง[[ปริซึม]]เพื่อกระจายแสงไปยังแผง[[ซิลิคอน]]สามสี คือ แดง เขียว น้ำเงิน เพื่อส่งภาพเป็นสัญญาณวิดีโอ เมื่อแสงผ่านแผงซิลิคอนนี้แล้ว แต่ละพิกเซลจะเปิดออกหรือปิดลง เพื่อให้ภาพ ทั้งระดับสีและการไล่สีตามที่ต้องการ สาเหตุที่เราใช้ หลอดเมทัลฮาไลด์เพราะสามารถให้อุณหภูมิของสีและระดับสีที่ถูกต้องที่สุด ทั้งยังสามารถให้ความสว่างของแสงสูงในพื้นที่ที่มีขนาดเล็กได้ โปรเจกต์เตอร์แอลซีดีรุ่นปัจจุบัน จะมีความสว่างประมาณ 2000-4000 [[ลูเมน]]
การฉายภาพบนเครื่องฉายภาพชนิดแอลซีดี ใช้หลอดไฟชนิด[[เมทัลฮาไลด์]] ส่งแสงไปยัง[[ปริซึม]]เพื่อกระจายแสงไปยังแผง[[ซิลิคอน]]สามสี คือ แดง เขียว น้ำเงิน เพื่อส่งภาพเป็นสัญญาณวิดีโอ เมื่อแสงผ่านแผงซิลิคอนนี้แล้ว แต่ละพิกเซลจะเปิดออกหรือปิดลง เพื่อให้ภาพ ทั้งระดับสีและการไล่สีตามที่ต้องการ สาเหตุที่เราใช้ หลอดเมทัลฮาไลด์เพราะสามารถให้อุณหภูมิของสีและระดับสีที่ถูกต้องที่สุด ทั้งยังสามารถให้ความสว่างของแสงสูงในพื้นที่ที่มีขนาดเล็กได้ เครื่องฉายภาพแอลซีดีรุ่นปัจจุบัน จะมีความสว่างประมาณ 2000-4000 [[ลูเมน]]


* '''โปรเจกต์เตอร์ชนิด DLP''' (DLP projecter) ใช้เทคโนโลยีที่ชื่อว่า Digital Light Processor ของ [[Texas Instrument]] มีตัวกำเนิดแสงที่เล็กมากเรียกว่า Digital Micromirror Device (DMDs) โปรเจกต์เตอร์ชนิดนี้ทำงานโดยปรกติจะใช้ DMD 2 ตัวจะใช้จานหมุนติดกระจกเพื่อสร้างสี
* '''เครื่องฉายภาพชนิด DLP''' (DLP projector) ใช้เทคโนโลยีที่ชื่อว่า Digital Light Processor ของ [[Texas Instrument]] มีตัวกำเนิดแสงที่เล็กมากเรียกว่า Digital Micromirror Device (DMDs) เครื่องฉายภาพชนิดนี้ทำงานโดยปรกติจะใช้ DMD 2 ตัวจะใช้จานหมุนติดกระจกเพื่อสร้างสี


ปัญหาของโปรเจกต์เตอร์ชนิดนี้คือ Rainbow effect คือผู้ที่ดูภาพที่ฉายไปสีขาว เป็นสีรุ้ง แต่สามารถแก้ปัญหาได้โดยใช้ระบบใหม่ซึ่งใช้ DMD 3 ตัว ความเร็วในการหมุนของจานหมุนติดกระจกที่สูงขึ้น และสามารถให้สีหลักได้อย่างถูกต้อง
ปัญหาของเครื่องฉายภาพชนิดนี้คือ Rainbow effect คือผู้ที่ดูภาพที่ฉายไปสีขาว เป็นสีรุ้ง แต่สามารถแก้ปัญหาได้โดยใช้ระบบใหม่ซึ่งใช้ DMD 3 ตัว ความเร็วในการหมุนของจานหมุนติดกระจกที่สูงขึ้น และสามารถให้สีหลักได้อย่างถูกต้อง


{{โครงเทคโนโลยี}}
{{โครงเทคโนโลยี}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:09, 19 พฤษภาคม 2558

ภาพจากเครื่องฉายภาพที่ใช้ในระบบโฮมเทียเตอร์

เครื่องฉายภาพ หรือ วิดีโอโปรเจกเตอร์ (อังกฤษ: video projector) เป็นอุปกรณ์สำหรับฉายภาพจากสัญญานวิดีโอ ผ่านระบบเลนส์ไปยังฉากรับภาพ โดยใช้ไฟที่สว่างและจ้าในการฉายภาพ โดยเครื่องฉายภาพรุ่นใหม่ สามารถแก้ไข ส่วนโค้งเว้า ความคมชัด ส่วนประกอบของภาพ และอื่น ๆ ด้วยการปรับโดยผู้ใช้เอง วิดีโอเครื่องฉายภาพ ถุกใช้อย่างกว้างขวางในการนำเสนองานในห้องประชุม ห้องเรียน หรือ แม้แต่ ใช้เป็น โฮมเทียเตอร์ เครื่องฉายภาพ จึงกลายเป็นที่นิยมและถูกใช้อย่างกว้างขวาง

เครื่องเครื่องฉายภาพในปัจจุบัน มีเทคโนโลยีที่ใช้ 3 ชนิด คือ

เครื่องฉายภาพแบบซีอาร์ที
  • เครื่องฉายภาพชนิดหลอดรังสีแคโทด (CRT projector) ใช้หลอดรังสีแคโทด จะมีสามหลอดสี คือ สีน้ำเงิน สีเขียว และสีแดง โดยหลอดสีทั้งสามสามารถเลื่อนเพื่อปรับองศาของภาพให้ถูกต้องได้ เครื่องฉายภาพชนิดนี้เป็นชนิดที่เก่าแก่ที่สุด ไม่จำเป็นต้องดูแลรักษามาก แต่ดูไม่สวยงามเพราะเครื่องฉายมีขนาดใหญ่ แต่มีข้อดีคือสามารถฉายภาพให้เป็นภาพขนาดใหญ่ในราคาที่ถูกกว่า
  • เครื่องฉายภาพชนิดฉายแสงผ่านแผ่นแอลซีดี (LCD projector) เป็นเครื่องฉายภาพที่มีระบบกลไกข้างในที่ไม่ซับซ้อน ทำให้เป็นเครื่องฉายภาพที่ถูกใช้อย่างกว้างขวาง เพราะราคาถูก เครื่องฉายภาพชนิดนี้มีปัญหาด้านการมองเรียกว่า screen door effect หรือ pixilation effect ซึ่งเราจะมองเห็นภาพเป็นจุด เป็นเหลี่ยมขนาดเล็ก และหลอดไฟมีราคาสูง

การฉายภาพบนเครื่องฉายภาพชนิดแอลซีดี ใช้หลอดไฟชนิดเมทัลฮาไลด์ ส่งแสงไปยังปริซึมเพื่อกระจายแสงไปยังแผงซิลิคอนสามสี คือ แดง เขียว น้ำเงิน เพื่อส่งภาพเป็นสัญญาณวิดีโอ เมื่อแสงผ่านแผงซิลิคอนนี้แล้ว แต่ละพิกเซลจะเปิดออกหรือปิดลง เพื่อให้ภาพ ทั้งระดับสีและการไล่สีตามที่ต้องการ สาเหตุที่เราใช้ หลอดเมทัลฮาไลด์เพราะสามารถให้อุณหภูมิของสีและระดับสีที่ถูกต้องที่สุด ทั้งยังสามารถให้ความสว่างของแสงสูงในพื้นที่ที่มีขนาดเล็กได้ เครื่องฉายภาพแอลซีดีรุ่นปัจจุบัน จะมีความสว่างประมาณ 2000-4000 ลูเมน

  • เครื่องฉายภาพชนิด DLP (DLP projector) ใช้เทคโนโลยีที่ชื่อว่า Digital Light Processor ของ Texas Instrument มีตัวกำเนิดแสงที่เล็กมากเรียกว่า Digital Micromirror Device (DMDs) เครื่องฉายภาพชนิดนี้ทำงานโดยปรกติจะใช้ DMD 2 ตัวจะใช้จานหมุนติดกระจกเพื่อสร้างสี

ปัญหาของเครื่องฉายภาพชนิดนี้คือ Rainbow effect คือผู้ที่ดูภาพที่ฉายไปสีขาว เป็นสีรุ้ง แต่สามารถแก้ปัญหาได้โดยใช้ระบบใหม่ซึ่งใช้ DMD 3 ตัว ความเร็วในการหมุนของจานหมุนติดกระจกที่สูงขึ้น และสามารถให้สีหลักได้อย่างถูกต้อง