ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิพิธภัณฑ์บริติช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:British Museum.jpg|thumb|right|ด้านหน้าของ '''บริติช มิวเซียม''']]
[[ไฟล์:British Museum.jpg|thumb|right|ด้านหน้าของ '''บริติช มิวเซียม''']]
[[ไฟล์:British Museum Great Court roof.jpg|thumb|right|ใจกลางของพิพิธภัณฑ์มีการรื้อพัฒนาใหม่ใน ปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ให้เป็นมหาราชสำนักของ[[สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2]] ล้อมรอบห้องอ่านหนังสือเดิม]]
[[ไฟล์:British Museum Great Court roof.jpg|thumb|right|ใจกลางของพิพิธภัณฑ์มีการรื้อพัฒนาใหม่ใน ปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ให้เป็นมหาราชสำนักของ[[สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2]] ล้อมรอบห้องอ่านหนังสือเดิม]]
[[ไฟล์:British Museum Library.JPG|thumb|right|ห้องสมุดอันโด่งดังภายในบริติชมิวเซียม]]
[[ไฟล์:British Museum Library.JPG|thumb|right|ห้องสมุดอันโด่งดังภายในบริติชมิวเซียม]]

'''บริติชมิวเซียม''' หรือที่นิยมเรียกกันว่า '''พิพิธภัณฑ์อังกฤษ''' ({{lang-en|British Museum}}) ในกรุง[[ลอนดอน]] [[สหราชอาณาจักร]] เป็นหนึ่งใน[[พิพิธภัณฑ์]]ด้าน[[ประวัติศาสตร์]]และ[[วัฒนธรรม]]ของมนุษยที่สำคัญที่สุดและใหญ่ที่สุดในโลก มีการก่อตั้งขึ้นในปี [[พ.ศ. 2296]] (ค.ศ. 1753) ในเบื้องต้นวัตถุที่เก็บรวบรวมไว้ส่วนใหญ่เป็นของสะสมของ'''เซอร์ แฮนส์ สโลน''' (Hans Sloane) ซึ่งเป็นแพทย์และนักวิทยาศาสตร์ พิพิธภัณฑ์แห่งนี้เปิดให้บริการแก่สาธารณะเป็นครั้งแรกในวันที่ [[15 มกราคม]] [[พ.ศ. 2302]] (ค.ศ. 1759) ในมงตากูเฮาส์ เมืองบลูมส์เบอร์รี กรุงลอนดอน อันเป็นสถานที่ตั้งของอาคารพิพิธภัณฑ์ในปัจจุบัน
'''บริติชมิวเซียม''' หรือที่นิยมเรียกกันว่า '''พิพิธภัณฑ์อังกฤษ''' ({{lang-en|British Museum}}) ในกรุง[[ลอนดอน]] [[สหราชอาณาจักร]] เป็นหนึ่งใน[[พิพิธภัณฑ์]]ด้าน[[ประวัติศาสตร์]]และ[[วัฒนธรรม]]ของมนุษยที่สำคัญที่สุดและใหญ่ที่สุดในโลก มีการก่อตั้งขึ้นในปี [[พ.ศ. 2296]] (ค.ศ. 1753) ในเบื้องต้นวัตถุที่เก็บรวบรวมไว้ส่วนใหญ่เป็นของสะสมของ'''เซอร์ แฮนส์ สโลน''' (Hans Sloane) ซึ่งเป็นแพทย์และนักวิทยาศาสตร์ พิพิธภัณฑ์แห่งนี้เปิดให้บริการแก่สาธารณะเป็นครั้งแรกในวันที่ [[15 มกราคม]] [[พ.ศ. 2302]] (ค.ศ. 1759) ในมงตากูเฮาส์ เมืองบลูมส์เบอร์รี กรุงลอนดอน อันเป็นสถานที่ตั้งของอาคารพิพิธภัณฑ์ในปัจจุบัน


บรรทัด 15: บรรทัด 16:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://the.british.museum/ เว็บไซต์หลักของบริติช มิวเซียม] {{en icon}}
* [http://the.british.museum/ เว็บไซต์หลักของบริติช มิวเซียม] {{en icon}}
* [http://www.thebritishmuseum.ac.uk/visit/datelist.html ลำดับเหตุการณ์ในประวัติของบริติช มิวเซียม จากเว็บไซต์หลัก] {{en icon}}
* [http://www.thebritishmuseum.ac.uk/visit/datelist.html ลำดับเหตุการณ์ในประวัติของบริติช มิวเซียม จากเว็บไซต์หลัก] {{en}}
{{โครงสถานที่}}


[[หมวดหมู่:พิพิธภัณฑ์ในอังกฤษ]]
[[หมวดหมู่:พิพิธภัณฑ์ในอังกฤษ]]
[[หมวดหมู่:ห้องสมุด]]
[[หมวดหมู่:ห้องสมุด]]
{{โครงสถานที่}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:44, 13 พฤษภาคม 2558

ด้านหน้าของ บริติช มิวเซียม
ใจกลางของพิพิธภัณฑ์มีการรื้อพัฒนาใหม่ใน ปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ให้เป็นมหาราชสำนักของสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 ล้อมรอบห้องอ่านหนังสือเดิม
ไฟล์:British Museum Library.JPG
ห้องสมุดอันโด่งดังภายในบริติชมิวเซียม

บริติชมิวเซียม หรือที่นิยมเรียกกันว่า พิพิธภัณฑ์อังกฤษ (อังกฤษ: British Museum) ในกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร เป็นหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของมนุษยที่สำคัญที่สุดและใหญ่ที่สุดในโลก มีการก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2296 (ค.ศ. 1753) ในเบื้องต้นวัตถุที่เก็บรวบรวมไว้ส่วนใหญ่เป็นของสะสมของเซอร์ แฮนส์ สโลน (Hans Sloane) ซึ่งเป็นแพทย์และนักวิทยาศาสตร์ พิพิธภัณฑ์แห่งนี้เปิดให้บริการแก่สาธารณะเป็นครั้งแรกในวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2302 (ค.ศ. 1759) ในมงตากูเฮาส์ เมืองบลูมส์เบอร์รี กรุงลอนดอน อันเป็นสถานที่ตั้งของอาคารพิพิธภัณฑ์ในปัจจุบัน

บริติชมิวเซียมเป็นแหล่งรวบรวมวัตถุต่างๆ จากทุกทวีป จำนวนกว่า 7 ล้านชิ้น ซึ่งล้วนมีชื่อเสียง และมีการบันทึกเรื่องราวของวัฒนธรรมมนุษน์จากจุดเริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน วัตถุจำนวนมากถูกเก็บไว้ในชั้นใต้ดินของพิพิธภัณฑ์ เนื่องจากไม่มีเนื้อที่เพียงพอ

ประธานอำนวยการพิพิธภัณฑ์คนปัจจุบัน คือเซอร์ จอห์น บอยด์ (John Boyd) และผู้อำนวยการคือ นีล แมกกรีเกอร์ (Neil MacGregor)

บริติชมิวเซียมนั้นคล้ายกับพิพิธภัณฑ์ขนาดใหญ่และหอศิลปะอื่นๆ ในอังกฤษ นั่นคือ ไม่คิดค่าเข้าชม แต่อาจคิดค่าธรรมเนียมพิเศษสำหรับการจัดแสดงพิเศษชั่วคราว

บริติชมิวเซียมนับว่าให้ประสบการณ์การเรียนรู้แก่ทุกคน นับตั้งแต่นักเรียน ครอบครัว จนถึงผู้ใหญ่ และยังมีประกาศนียบัตรหลังปริญญาตรี ที่เน้นศิลปะยุคคลาสสิกและศิลป์ตกแต่งของเอเชียด้วย

แหล่งข้อมูลอื่น