ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิเล็กตรอนโวลต์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
robot Adding: bs:Elektronvolt, is:Rafeindarvolt Modifying: gl:Electrón-volt
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 2: บรรทัด 2:


พลังงานหนึ่งอิเล็กตรอนโวลต์เป็นพลังงานที่น้อยมาก คือ
พลังงานหนึ่งอิเล็กตรอนโวลต์เป็นพลังงานที่น้อยมาก คือ
: 1 eV = 1.602 176 53 (14){{e|−19}} [[จูล|J]] (ที่มา: ค่าที่แนะนำให้ใช้จาก CODATA 2002)
: 1 eV = 1.602 176 53 (14){{e|19}} [[จูล|J]] (ที่มา: ค่าที่แนะนำให้ใช้จาก CODATA 2002)


หน่วยอิเล็กตรอนโวลต์ได้รับการยอมรับ (แต่ไม่แนะนำ) ให้ใช้กับระบบ [[SI]] หน่วยนี้ได้ถูกใช้อย่างแพร่หลายในวงการ[[โซลิดสเตต]] [[ปรมาณู]] [[นิวเคลียร์]] และ[[ฟิสิกส์อนุภาค]] และมักใช้ร่วมกับตัวนำหน้าหน่วย m k M หรือ G
หน่วยอิเล็กตรอนโวลต์ได้รับการยอมรับ (แต่ไม่แนะนำ) ให้ใช้กับระบบ [[SI]] หน่วยนี้ได้ถูกใช้อย่างแพร่หลายในวงการ[[โซลิดสเตต]] [[ปรมาณู]] [[นิวเคลียร์]] และ[[ฟิสิกส์อนุภาค]] และมักใช้ร่วมกับตัวนำหน้าหน่วย m k M หรือ G

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:45, 9 พฤษภาคม 2550

อิเล็กตรอนโวลต์ (อังกฤษ: electronvolt สัญลักษณ์: eV) เป็นหน่วยการวัดพลังงาน เท่ากับปริมาณของพลังงานจลน์ ที่เกิดขึ้นจากการที่อิเล็กตรอนอิสระเดินทางผ่านความต่างศักย์จากไฟฟ้าสถิตขนาด 1 โวลต์ในสุญญากาศ

พลังงานหนึ่งอิเล็กตรอนโวลต์เป็นพลังงานที่น้อยมาก คือ

1 eV = 1.602 176 53 (14)×10−19 J (ที่มา: ค่าที่แนะนำให้ใช้จาก CODATA 2002)

หน่วยอิเล็กตรอนโวลต์ได้รับการยอมรับ (แต่ไม่แนะนำ) ให้ใช้กับระบบ SI หน่วยนี้ได้ถูกใช้อย่างแพร่หลายในวงการโซลิดสเตต ปรมาณู นิวเคลียร์ และฟิสิกส์อนุภาค และมักใช้ร่วมกับตัวนำหน้าหน่วย m k M หรือ G