ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตรรกศาสตร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:


ใน[[ภาษาไทย]] เดิมมีคำนี้ใช้อยู่แล้ว ซึ่งน่าจะได้มาจาก[[ภาษาบาลี]] [[ภาษาสันสกฤต|สันสกฤต]] (อย่างเช่นใน [[กาลามสูตร]] 10 ข้อ ที่ มีกล่าวไว้ว่าข้อหนึ่งว่า "''อย่าเชื่อ เพราะ ได้คิดคำนึงเอาด้วย ตักฺกะ''") ซึ่งอาจจะมีความหมายไม่ตรงทีเดียวนักกับคำว่าตรรกศาสตร์ที่ใช้ในภาษาปัจจุบัน
ใน[[ภาษาไทย]] เดิมมีคำนี้ใช้อยู่แล้ว ซึ่งน่าจะได้มาจาก[[ภาษาบาลี]] [[ภาษาสันสกฤต|สันสกฤต]] (อย่างเช่นใน [[กาลามสูตร]] 10 ข้อ ที่ มีกล่าวไว้ว่าข้อหนึ่งว่า "''อย่าเชื่อ เพราะ ได้คิดคำนึงเอาด้วย ตักฺกะ''") ซึ่งอาจจะมีความหมายไม่ตรงทีเดียวนักกับคำว่าตรรกศาสตร์ที่ใช้ในภาษาปัจจุบัน

== ดูเพิ่ม ==
* [[ตรรกะวิบัติ]] ที่ไม่เป็นไปตามหลักตรรกะอย่างถูกต้อง



[[หมวดหมู่:ตรรกศาสตร์|*]]
[[หมวดหมู่:ตรรกศาสตร์|*]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:04, 25 พฤศจิกายน 2556

ตรรกศาสตร์ (อังกฤษ: logic - มีรากศัพท์จากภาษากรีกคือ λόγος, logos) เป็นการศึกษาเชิงปรัชญาว่าด้วยการให้เหตุผล โดยมักจะเป็นส่วนสำคัญของวิชาปรัชญา คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ รวมถึงภาษาศาสตร์ ตรรกศาสตร์เป็นการตรวจสอบข้อโต้แย้งที่สมเหตุสมผล (valid argument) หรือการให้เหตุผลแบบผิดๆ (fallacies) ตรรกศาสตร์ เป็นการศึกษาที่มีมานานโดยมนุษยชาติที่เจริญแล้ว เช่น กรีก จีน หรืออินเดีย และถูกยกขึ้นเป็นสาขาวิชาหนึ่งโดย อริสโตเติล

ที่มาของคำ

คำว่า "ตรรกศาสตร์" ในปัจจุบัน เป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้แทนแนวคิดเรื่อง Logic ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำว่า λόγος (logos) ในภาษากรีก ที่มีความหมายเดิมว่าคำ หรือสิ่งที่ถูกกล่าว หลาย ๆ ประเทศที่ใช้อักษรโรมันในการเขียนก็มีศัพท์ที่พูดถึงแนวคิดนี้ในลักษณะชื่อที่คล้ายๆกัน

ในภาษาไทย เดิมมีคำนี้ใช้อยู่แล้ว ซึ่งน่าจะได้มาจากภาษาบาลี สันสกฤต (อย่างเช่นใน กาลามสูตร 10 ข้อ ที่ มีกล่าวไว้ว่าข้อหนึ่งว่า "อย่าเชื่อ เพราะ ได้คิดคำนึงเอาด้วย ตักฺกะ") ซึ่งอาจจะมีความหมายไม่ตรงทีเดียวนักกับคำว่าตรรกศาสตร์ที่ใช้ในภาษาปัจจุบัน

ดูเพิ่ม

แม่แบบ:Link GA