ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พืชใบเลี้ยงคู่แท้"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{taxobox | taxon = Eudicots | fossil_range = Early Cretaceous - Recent | image = Primula aka.jpg | image_caption = ''Primula hortensis'', พืชใบเล...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
| taxon = Eudicots
| taxon = Eudicots
| fossil_range = [[Early Cretaceous]] - Recent
| fossil_range = [[Early Cretaceous]] - Recent
| image = Primula aka.jpg
| image = Rhododendron simsii 01.JPG
| image_caption = ''[[Primula hortensis]]'', พืชใบเลี้ยงคู่แท้
| image_caption = ''[[Rhododendron simsii]]'', พืชใบเลี้ยงคู่แท้
| subdivision_ranks = Clades ([[APG III system|APG III]])
| subdivision_ranks = Clades ([[APG III system|APG III]])
| subdivision =
| subdivision =

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:49, 17 กันยายน 2556

พืชใบเลี้ยงคู่แท้
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: Early Cretaceous - Recent
Rhododendron simsii, พืชใบเลี้ยงคู่แท้
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
Clades (APG III)

พืชใบเลี้ยงคู่แท้ หรือ Eudicots, Eudicotidae หรือ Eudicotyledons เป็นกลุ่มทางไฟโลเจนเติกของพืชมีดอก บางครั้งเรียกว่าพืชใบเลี้ยงคู่ที่ไม่ใช่แมกโนลิด คำนี้กำหนดขึ้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2534 โดย James A. Doyle และ Carol L. Hotton เพื่อใช้อ้างถึงกลุ่มของพืชใบเลี้ยงคู่ที่เฉพาะขึ้น[1] คำว่าพืชใบเลี้ยงคู่แท้ใช้หมายถึงพืชใบเลี้ยงคู่ที่มีลักษณะของพืชใบเลี้ยงคู่อย่างชัดเจน ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มใหญ่ของพืชมีดอกสองกลุ่ม คิดเป็น 70% ของพืชมีดอก โดยอีกสองกลุ่มคือพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และพืชมีดอกพื้นฐานหรือพืชที่คล้ายใบเลี้ยงคู่ คำว่าพืชใบเลี้ยงคู่แท้ ใช้ในระบบ APG และ APG II

การจัดจำแนก

พืชใบเลี้ยงคู่แท้แบ่งเป็นสองกลุ่ม: พืชใบเลี้ยงคู่แท้พื้นฐาน และพืชใบเลี้ยงคู่แท้แกนกลาง[2] พืชใบเลี้ยงคู่แท้แกนกลางแบ่งได้อีกสองกลุ่ม - Pentapetalae - คือพืชใบเลี้ยงคู่แท้แกนกลางทั้งหมดยกเว้น Gunnerales - และอันดับ Gunnerales.[3]

Pentapetalae แบ่งได้อีกสามกลุ่ม:

ภายในกลุ่มพืชใบเลี้ยงคู้แท้แกนกลางมี "rosids" (กลุ่มแกนกลางมี "eu−") และ"asterids" (กลุ่มแกนกลางมี "eu−").


ในรายละเอียดที่แสดงถึงอันดับและวงศ์เป็นดังนี้:

อ้างอิง

  1. Endress, Peter K. (Oct. - Dec., 2002). "Morphology and Angiosperm Systematics in the Molecular Era". Botanical Review. Structural Botany in Systematics: A Symposium inMemory of William C. Dickison. 68 (4). {{cite journal}}: |access-date= ต้องการ |url= (help); ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  2. Worberg A, Quandt D, Barniske A-M, Löhne C, Hilu KW, Borsch T (2007) Phylogeny of basal eudicots: insights from non-coding and rapidly evolving DNA. Organisms, Diversity and Evolution 7 (1), 55-77.
  3. Moore MJ, Soltis PS, Bell CD, Burleigh JG, Soltis DE (2010) Phylogenetic analysis of 83 plastid genes further resolves the early diversification of eudicots. Proc Natl Acad Sci USA
  • Doyle, J. A. & Hotton, C. L. Diversification of early angiosperm pollen in a cladistic context. pp. 169–195 in Pollen and Spores. Patterns of Diversification (eds Blackmore, S. & Barnes, S. H.) (Clarendon, Oxford, 1991).
  • Walter S. Judd and Richard G. Olmstead (2004). "A survey of tricolpate (eudicot) phylogenetic relationships". American Journal of Botany. 91 (10): 1627–1644. doi:10.3732/ajb.91.10.1627. PMID 21652313. (full text )
  • Eudicots in Stevens, P. F. (2001 onwards). Angiosperm Phylogeny Website. Version 7, May 2006.

แหล่งข้อมูลอื่น