ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮุ่ยเหนิง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 19 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q345012 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
เร้น←เล้น
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''พระฮุ่ยเหนิง''' (慧能) หรือ "เว่ยหลาง" เป็นภิกษุที่มีชีวิตสมัย[[ราชวงศ์ถัง]] เป็นสังฆปรินายกองค์ที่ 6 ใน[[นิกายฌาน]]นับจาก[[พระโพธิธรรม]] หลังจากสืบทอดบาตรจีวรและธรรมจากพระสังฆปริณายกองค์ก่อน คือ หวางยั่น(ฮ่งยิ้ม) เป็นพระสังฆปริณายกแห่งนิกายเซนองค์ที่ 5 เจ้าอาวาสวัดตุงซั่น
'''พระฮุ่ยเหนิง''' (慧能) หรือ "เว่ยหลาง" เป็นภิกษุที่มีชีวิตสมัย[[ราชวงศ์ถัง]] เป็นสังฆปรินายกองค์ที่ 6 ใน[[นิกายฌาน]]นับจาก[[พระโพธิธรรม]] หลังจากสืบทอดบาตรจีวรและธรรมจากพระสังฆปริณายกองค์ก่อน คือ หวางยั่น(ฮ่งยิ้ม) เป็นพระสังฆปริณายกแห่งนิกายเซนองค์ที่ 5 เจ้าอาวาสวัดตุงซั่น


เว่ยหล่างมักถูกนำไปอ้างถึงใน[[ลัทธิอนุตตรธรรม]]ว่าเป็นบรรพจารย์แห่งอนุตตรธรรมด้วย ลัทธินี้กล่าวว่ามีคำสอนเล้นลับเผยแพร่ได้เฉพาะโองการสวรรค์ โดยสืบต่อกันจากจิตถึงจิต เป็นการเฉพาะตัว รับช่วงต่อได้ทีละหนึ่งคนจากวิสุทธิอาจารย์ และจะเผยแพร่ต่อสาธารณชนทั่วไปไม่ได้ จนกระทั่งปัจจุบันจึงถึงยุคที่เผยแพร่ให้ประชาชนทั่วไปได้ศึกษา ซึ่งขัดกับหลักคำสอนของเว่ยหล่าง ในหมวดคำสอนครั้งสุดท้ายของท่าน ใจความว่า
เว่ยหล่างมักถูกนำไปอ้างถึงใน[[ลัทธิอนุตตรธรรม]]ว่าเป็นบรรพจารย์แห่งอนุตตรธรรมด้วย ลัทธินี้กล่าวว่ามีคำสอนเร้นลับเผยแพร่ได้เฉพาะโองการสวรรค์ โดยสืบต่อกันจากจิตถึงจิต เป็นการเฉพาะตัว รับช่วงต่อได้ทีละหนึ่งคนจากวิสุทธิอาจารย์ และจะเผยแพร่ต่อสาธารณชนทั่วไปไม่ได้ จนกระทั่งปัจจุบันจึงถึงยุคที่เผยแพร่ให้ประชาชนทั่วไปได้ศึกษา ซึ่งขัดกับหลักคำสอนของเว่ยหล่าง ในหมวดคำสอนครั้งสุดท้ายของท่าน ใจความว่า


"สำหรับคำสอนของฉันทั้งหมด นับแต่ได้กล่าวเทศนาในวัดไทฟันตราบจนบัดนี้ จงคัดลอกเป็นเล่มแล้วแจกจ่ายกันไปก็ได้ แต่ให้ชื่อว่า สูตรอันประกาศบนมหาบัลลังก์แห่งธรรมรถ จงทะนุถนอม ไว้ให้ดี แล้วมอบต่อกันไปตามอนุชนแต่ละรุ่น เพื่อช่วยเหลือสัตว์ทั้งปวง บุคคลที่สั่งสอนตามคำสอนนี้ เป็นผู้ที่สั่งสอนตามธรรมแท้
"สำหรับคำสอนของฉันทั้งหมด นับแต่ได้กล่าวเทศนาในวัดไทฟันตราบจนบัดนี้ จงคัดลอกเป็นเล่มแล้วแจกจ่ายกันไปก็ได้ แต่ให้ชื่อว่า สูตรอันประกาศบนมหาบัลลังก์แห่งธรรมรถ จงทะนุถนอม ไว้ให้ดี แล้วมอบต่อกันไปตามอนุชนแต่ละรุ่น เพื่อช่วยเหลือสัตว์ทั้งปวง บุคคลที่สั่งสอนตามคำสอนนี้ เป็นผู้ที่สั่งสอนตามธรรมแท้

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:46, 28 สิงหาคม 2556

สรีระที่ไม่เน่าเปื่อยของพระฮุ่ยเหนิง

พระฮุ่ยเหนิง (慧能) หรือ "เว่ยหลาง" เป็นภิกษุที่มีชีวิตสมัยราชวงศ์ถัง เป็นสังฆปรินายกองค์ที่ 6 ในนิกายฌานนับจากพระโพธิธรรม หลังจากสืบทอดบาตรจีวรและธรรมจากพระสังฆปริณายกองค์ก่อน คือ หวางยั่น(ฮ่งยิ้ม) เป็นพระสังฆปริณายกแห่งนิกายเซนองค์ที่ 5 เจ้าอาวาสวัดตุงซั่น

เว่ยหล่างมักถูกนำไปอ้างถึงในลัทธิอนุตตรธรรมว่าเป็นบรรพจารย์แห่งอนุตตรธรรมด้วย ลัทธินี้กล่าวว่ามีคำสอนเร้นลับเผยแพร่ได้เฉพาะโองการสวรรค์ โดยสืบต่อกันจากจิตถึงจิต เป็นการเฉพาะตัว รับช่วงต่อได้ทีละหนึ่งคนจากวิสุทธิอาจารย์ และจะเผยแพร่ต่อสาธารณชนทั่วไปไม่ได้ จนกระทั่งปัจจุบันจึงถึงยุคที่เผยแพร่ให้ประชาชนทั่วไปได้ศึกษา ซึ่งขัดกับหลักคำสอนของเว่ยหล่าง ในหมวดคำสอนครั้งสุดท้ายของท่าน ใจความว่า

"สำหรับคำสอนของฉันทั้งหมด นับแต่ได้กล่าวเทศนาในวัดไทฟันตราบจนบัดนี้ จงคัดลอกเป็นเล่มแล้วแจกจ่ายกันไปก็ได้ แต่ให้ชื่อว่า สูตรอันประกาศบนมหาบัลลังก์แห่งธรรมรถ จงทะนุถนอม ไว้ให้ดี แล้วมอบต่อกันไปตามอนุชนแต่ละรุ่น เพื่อช่วยเหลือสัตว์ทั้งปวง บุคคลที่สั่งสอนตามคำสอนนี้ เป็นผู้ที่สั่งสอนตามธรรมแท้ พอแล้วสำหรับธรรม ส่วนการรับช่วงจีวรนั้น ถือว่าเป็นการสิ้นสุดกัน เพราะเหตุใดหรือ? เพราะว่าท่านทั้งหลายต่างก็ศรัทธาต่อคำสอนของฉันโดยพร้อมมูล ทั้งท่านก็ปราศจากความเคลือบแคลงสงสัยใดๆ แล้ว ท่านย่อมสามารถสืบต่อจุดประสงค์อันสูงยิ่งของสำนักเราให้ลุล่วงไปได้ นอกจากนั้นตามความหมายในโศลกของท่านโพธิธรรม พระสังฆปริณายกองค์แรกผู้ถ่ายทอดพระธรรมและบาตรจีวรท่านก็ไม่ประสงค์จะให้มอบแก่ใครต่อไปอีก โศลกนั้นคือ:-

จุดประสงค์ในการมาดินแดนนี้ ก็เพื่อถ่ายทอดพระธรรม สำหรับปลดปล่อยสัตว์ที่ถูกครอบงำไว้ ด้วยความหลงผิด เมื่อมีกลีบครบห้ากลีบ ดอกไม้นั้นก็สมบูรณ์ หลังจากนั้นไป ผลจะปรากฏขึ้นเองตามธรรมชาติ"

และเมื่อมีคำถามในเรื่องการถ่ายทอดธรรมอันเล้นลับที่ว่าไม่มีการเผยแพร่ต่อสาธารณชนตามที่อนุตรธรรมกล่าวอ้าง ก็ได้กล่าวถึงในที่ประชุมก่อนเว่ยหล่างมรณภาพเช่นกัน ใจความว่า

ที่ประชุมถามว่า "ใครครับ พระคุณท่าน ที่ท่านได้ถ่ายทอดขุมกำเนิดแห่งดวงตาของธรรมแท้?" พระสังฆปริณายกตอบว่า "มนุษย์ในหลักธรรมย่อมได้รับ และบรรดาผู้ซึ่งหลุดพ้นแล้วจากความคิดเห็นอันเฉียบขาด ย่อมเข้าใจ"

ซึ่งจะเห็นได้ว่าธรรมนั้นมิใช่สิ่งเล้นรับอันใดเลย