ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทิศทาง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
พวกหน้าเดิม
สุขพินทุที่ ๑ (คุย | ส่วนร่วม)
หากปรับแก้ น่าจะย้ายไปไว้ที่วิกิซอร์ซ เพราะไม่สะท้อนเนื้อหาสำคัญที่ตรงหัวข้อ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ทิศ''' เป็น[[สัญลักษณ์]]ทางความหมาย กล่าวถึง เหตุผล ทาง[[ภูมิศาสตร์]]ในตำแหน่งต่างๆ เป็นชื่อต่างๆ บอกว่าบริเวณหรือแนวโน้มใดคือ ด้านซ้าย ,ขวา ,หน้า หรือหลัง ที่หมายถึงการชี้บอก ส่วนใหญ่ ภูมิศาสตร์โบราณ กล่าวถึงทิศอย่างน้อยสองทิศ เป็นปฐม เช่น การบอกว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ดังประโยคที่ว่า{{คำพูด|ปรากฏที่ทิศตรง และบ้างก็มีปรากฏอยู่ด้านทิศเฉียงด้วยหากมองลงมาจากภูเขา}}เป็นต้น ส่วนใหญ่หมายถึงทิศทั้งสี่ กล่าวคือ [[ทิศตะวันออก]] [[ทิศเหนือ]] [[ทิศตะวันตก]] และ[[ทิศใต้]] เป็นทิศตรงในการดูภูมิแบบสี่ทิศ นอกกว่าสี่ทิศนี้ คือ ''ทิศเฉียง'' เชื่อว่า ทิศที่หมายถึง[[ทิศทั้งแปด]]<ref><small>นักวิจัยต่างประเทศ ที่ศึกษาวิจัยเรื่องทิศใน[[เขมร]] เชื่อว่า ทิศทั้งแปด หมายถึงทิศ [[มังกร]] [[หมา]] [[โค]] [[ไก่ฟ้า]] [[ม้า]] [[หมูป่า]] [[ไก่]] และ[[แพะ]] ตามลำดับ</small></ref> เป็นทิศตรงเช่นเดียวกัน เป็นการแบ่งจำนวนของทิศตรง ทิศที่มีทิศเฉียงอีกสองประเภทคือ ทิศทั้งหกตามตำราทางพุทธศาสนา(''จำนวนทิศทั้งสี่ รวมกับ ทิศเบื้องบน และทิศเบื้องล่าง'')และทิศทั้งสิบตามตำราทางพุทธศาสนา''(ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ทิศเบื้องบน และทิศเบื้องล่าง'') ทิศน้อยใหญ่ดังกล่าว เดิมที คงเรียกแต่ว่า เป็นทิศตรงหรือทิศเฉียงเท่านั้น กว่านั้นต่อมา จึงกำหนดชื่อ ซ้าย ขวา และแนวที่เป็นกำหนดนัดหมายต่อกันมากขึ้นตามลักษณะ[[ภูมิประเทศ]]และ[[ดาราศาสตร์]]
{{ต้องการอ้างอิง}}
----
'''ทิศ''' เป็น[[สัญลักษณ์]]ทางความหมาย กล่าวถึง เหตุผล ทาง[[ภูมิศาสตร์]]ในตำแหน่งต่างๆ เป็นชื่อต่างๆ บอกว่าบริเวณหรือแนวโน้มใดคือ ด้านซ้าย ,ขวา ,หน้า หรือหลัง ที่หมายถึงการชี้บอก ส่วนใหญ่ ภูมิศาสตร์โบราณ กล่าวถึงทิศอย่างน้อยสองทิศ เป็นปฐม เช่น การบอกว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ดังประโยคที่ว่า "ปรากฏที่ทิศตรง และบ้างก็มีปรากฏอยู่ด้านทิศเฉียงด้วยหากมองลงมาจากภูเขา" เป็นต้น ส่วนใหญ่หมายถึงทิศทั้งสี่ กล่าวคือ [[ทิศตะวันออก]] [[ทิศเหนือ]] [[ทิศตะวันตก]] และ[[ทิศใต้]] เป็นทิศตรงในการดูภูมิแบบสี่ทิศ นอกกว่าสี่ทิศนี้ คือ ''ทิศเฉียง'' เชื่อว่า ทิศที่หมายถึง[[ทิศทั้งแปด]]<ref>นักวิจัยต่างประเทศ ที่ศึกษาวิจัยเรื่องทิศใน[[เขมร]] เชื่อว่า ทิศทั้งแปด หมายถึงทิศ [[มังกร]] [[หมา]] [[โค]] [[ไก่ฟ้า]] [[ม้า]] [[หมูป่า]] [[ไก่]] และ[[แพะ]] ตามลำดับ{{อ้างอิง}}</ref> เป็นทิศตรงเช่นเดียวกัน เป็นการแบ่งจำนวนของทิศตรง ทิศที่มีทิศเฉียงอีกสองประเภทคือ ทิศทั้งหกตามตำราทางพุทธศาสนา(''จำนวนทิศทั้งสี่ รวมกับ ทิศเบื้องบน และทิศเบื้องล่าง'')และทิศทั้งสิบตามตำราทางพุทธศาสนา''(ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ทิศเบื้องบน และทิศเบื้องล่าง'') ทิศน้อยใหญ่ดังกล่าว เดิมที คงเรียกแต่ว่า เป็นทิศตรงหรือทิศเฉียงเท่านั้น กว่านั้นต่อมา จึงกำหนดชื่อ ซ้าย ขวา และแนวที่เป็นกำหนดนัดหมายต่อกันมากขึ้นตามลักษณะ[[ภูมิประเทศ]]และ[[ดาราศาสตร์]]

== เชิงอรรถ ==
<references/>
<references/>
[[หมวดหมู่:โหราศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:โหราศาสตร์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:13, 7 มิถุนายน 2556

ทิศ เป็นสัญลักษณ์ทางความหมาย กล่าวถึง เหตุผล ทางภูมิศาสตร์ในตำแหน่งต่างๆ เป็นชื่อต่างๆ บอกว่าบริเวณหรือแนวโน้มใดคือ ด้านซ้าย ,ขวา ,หน้า หรือหลัง ที่หมายถึงการชี้บอก ส่วนใหญ่ ภูมิศาสตร์โบราณ กล่าวถึงทิศอย่างน้อยสองทิศ เป็นปฐม เช่น การบอกว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ดังประโยคที่ว่า

ปรากฏที่ทิศตรง และบ้างก็มีปรากฏอยู่ด้านทิศเฉียงด้วยหากมองลงมาจากภูเขา

เป็นต้น ส่วนใหญ่หมายถึงทิศทั้งสี่ กล่าวคือ ทิศตะวันออก ทิศเหนือ ทิศตะวันตก และทิศใต้ เป็นทิศตรงในการดูภูมิแบบสี่ทิศ นอกกว่าสี่ทิศนี้ คือ ทิศเฉียง เชื่อว่า ทิศที่หมายถึงทิศทั้งแปด[1] เป็นทิศตรงเช่นเดียวกัน เป็นการแบ่งจำนวนของทิศตรง ทิศที่มีทิศเฉียงอีกสองประเภทคือ ทิศทั้งหกตามตำราทางพุทธศาสนา(จำนวนทิศทั้งสี่ รวมกับ ทิศเบื้องบน และทิศเบื้องล่าง)และทิศทั้งสิบตามตำราทางพุทธศาสนา(ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ทิศเบื้องบน และทิศเบื้องล่าง) ทิศน้อยใหญ่ดังกล่าว เดิมที คงเรียกแต่ว่า เป็นทิศตรงหรือทิศเฉียงเท่านั้น กว่านั้นต่อมา จึงกำหนดชื่อ ซ้าย ขวา และแนวที่เป็นกำหนดนัดหมายต่อกันมากขึ้นตามลักษณะภูมิประเทศและดาราศาสตร์


  1. นักวิจัยต่างประเทศ ที่ศึกษาวิจัยเรื่องทิศในเขมร เชื่อว่า ทิศทั้งแปด หมายถึงทิศ มังกร หมา โค ไก่ฟ้า ม้า หมูป่า ไก่ และแพะ ตามลำดับ