ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คดีมโนสาเร่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Fernet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
'''คดีมโนสาเร่''' ({{lang-en|petty case}}) หมายถึง คดีอันมีทุนทรัพย์หรือค่าเช่าจำนวนเล็กน้อย ซึ่งไม่เกินจำนวนที่กำหนดในกฎหมาย
'''คดีมโนสาเร่''' ({{lang-en|petty case}}) หมายถึง คดีอันมีทุนทรัพย์หรือค่าเช่าจำนวนเล็กน้อย ซึ่งไม่เกินจำนวนที่กำหนดในกฎหมาย


คดีมโนสาเร่ในกฎหมายไทย




ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 189 ได้กำหนดความหมายของคดีมโนสาเร่ไว้ว่าหมายถึงคดีแพ่งที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิน 300,000 บาท หรือคดีฟ้องขับไล่ผู้เช่า ผู้อาศัย ผู้ละเมิดบุกรุกเข้ามาในที่ดินอสังหาริมทรัพย์ มีค่าเช่าหรืออาจให้เช่าได้ไม่เกินเดือนละ 30,000 บาท




คดีมโนสาเร่ที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิน 300,000 บาทนั้น เป็นอำนาจของผู้พิพากษาคนเดียวที่จะพิจารณาพิพากษา และอยู่ในอำนาจของศาลแขวง ส่วนคดีขับไล่แม้จะเป็นคดีมโนสาเร่ ก็ต้องอาศัยผู้พิพากษาครบองค์คณะและอยู่ในอำนาจของศาลจังหวัดเพราะเป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์




การดำเนินคดีมโนสาเร่ แตกต่างจากคดีแพ่งสามัญ กล่าวคือ โจทก์สามารถยื่นฟ้องเป็นหนังสือหรือแถลงด้วยวาจาก็ได้ และเสียค่าขึ้นศาลมากที่สุดเพียงหนึ่งพันบาท เมื่อโจทก์ฟ้องแล้ว ศาลจะกำหนดวันนัดพิจารณาเพื่อให้จำเลยมาศาลเพื่อการไกล่เกลี่ย ให้การ และสืบพยานในวันเดียวกัน โดยจำเลยไม่ต้องยื่นคำให้การภายใน 15 วันอย่างคดีแพ่งสามัญ และหากจำเลยไม่ได้ยื่นคำให้การไว้ก่อนก็ไม่ขาดนัดยื่นคำให้การ ในการสืบพยาน ศาลมีอำนาจเรียกพยานหลักฐานมาสืบได้เองตามที่เห็นสมควร และงให้ศาลเป็นผู้ซักถามพยานก่อน เสร็จแล้วจึงให้ตัวความหรือทนายความซักถามเพิ่มเติม โดยคำเบิกความพยานจะบันทึกแต่โดยย่อก็ได้ จากนั้น ศาลจะมีคำสั่งหรือคำพิพากษาด้วยวาจาก็ได้




ทั้งนี้ การพิจารณาคดีมโนสาเร่นี้นำไปใช้กับคดีไม่มีข้อยุ่งยากด้วย


[[หมวดหมู่:วิธีพิจารณาความแพ่ง]]
[[หมวดหมู่:วิธีพิจารณาความแพ่ง]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:56, 30 มีนาคม 2556

คดีมโนสาเร่ (อังกฤษ: petty case) หมายถึง คดีอันมีทุนทรัพย์หรือค่าเช่าจำนวนเล็กน้อย ซึ่งไม่เกินจำนวนที่กำหนดในกฎหมาย

คดีมโนสาเร่ในกฎหมายไทย



ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 189 ได้กำหนดความหมายของคดีมโนสาเร่ไว้ว่าหมายถึงคดีแพ่งที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิน 300,000 บาท หรือคดีฟ้องขับไล่ผู้เช่า ผู้อาศัย ผู้ละเมิดบุกรุกเข้ามาในที่ดินอสังหาริมทรัพย์ มีค่าเช่าหรืออาจให้เช่าได้ไม่เกินเดือนละ 30,000 บาท



คดีมโนสาเร่ที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิน 300,000 บาทนั้น เป็นอำนาจของผู้พิพากษาคนเดียวที่จะพิจารณาพิพากษา และอยู่ในอำนาจของศาลแขวง ส่วนคดีขับไล่แม้จะเป็นคดีมโนสาเร่ ก็ต้องอาศัยผู้พิพากษาครบองค์คณะและอยู่ในอำนาจของศาลจังหวัดเพราะเป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์



การดำเนินคดีมโนสาเร่ แตกต่างจากคดีแพ่งสามัญ กล่าวคือ โจทก์สามารถยื่นฟ้องเป็นหนังสือหรือแถลงด้วยวาจาก็ได้ และเสียค่าขึ้นศาลมากที่สุดเพียงหนึ่งพันบาท เมื่อโจทก์ฟ้องแล้ว ศาลจะกำหนดวันนัดพิจารณาเพื่อให้จำเลยมาศาลเพื่อการไกล่เกลี่ย ให้การ และสืบพยานในวันเดียวกัน โดยจำเลยไม่ต้องยื่นคำให้การภายใน 15 วันอย่างคดีแพ่งสามัญ และหากจำเลยไม่ได้ยื่นคำให้การไว้ก่อนก็ไม่ขาดนัดยื่นคำให้การ ในการสืบพยาน ศาลมีอำนาจเรียกพยานหลักฐานมาสืบได้เองตามที่เห็นสมควร และงให้ศาลเป็นผู้ซักถามพยานก่อน เสร็จแล้วจึงให้ตัวความหรือทนายความซักถามเพิ่มเติม โดยคำเบิกความพยานจะบันทึกแต่โดยย่อก็ได้ จากนั้น ศาลจะมีคำสั่งหรือคำพิพากษาด้วยวาจาก็ได้



ทั้งนี้ การพิจารณาคดีมโนสาเร่นี้นำไปใช้กับคดีไม่มีข้อยุ่งยากด้วย