ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางข้ามสัตว์ป่า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
[[หมวดหมู่:นิเวศวิทยา]]
[[หมวดหมู่:นิเวศวิทยา]]
{{โครง}}
{{โครง}}

[[cs:Ekodukt]]
[[de:Grünbrücke]]
[[en:Wildlife crossing]]
[[es:Ecoducto]]
[[fr:Écoduc]]
[[he:מעבר אקולוגי]]
[[it:Rospodotto]]
[[ko:야생동물 이동 통로]]
[[lb:Wëldbréck]]
[[nl:Ecoduct]]
[[no:Miljøtunnel]]
[[pl:Zielony most (transport)]]
[[ru:Экодук]]
[[sv:Ekodukt]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:50, 9 มีนาคม 2556

ทางข้ามสัตว์ป่า สร้างคร่อมถนน
ทางข้ามสัตว์ป่า ลอดใต้ถนน

ทางข้ามสัตว์ป่า เป็นทางเชื่อมต่อถิ่นที่อยู่ของสัตว์ป่า ช่วยให้สัตว์ป่าสามารถข้ามถนนได้อย่างปลอดภัย ทางข้ามดังกล่าวอาจเป็นสะพานข้าม อุโมงค์ลอด ท่อ หรือบันไดปลา ทางข้ามสัตว์ป่าเป็นทางหนึ่งในการอนุรักษ์ถิ่นที่อยู่ของสัตว์ป่า โดยการเชื่อมถิ่นที่อยู่ของสัตว์ป่าที่เคยถูกตัดขาดด้วยทางหลวง นอกจากนี้ยังช่วยลดอุบัติเหตุรถกับสัตว์ชนกัน

การศึกษาหนึ่งประเมินว่าการมีทางข้ามดังกล่าวเพิ่มขึ้นในโครงการสร้างทางหลวง จะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นเพียง 7-8% (Bank et al. 2002)

สำนักขนส่งเวอร์จิเนียทำการวิจัยที่ทางข้ามสัตว์ป่าต่างๆ ในเวอร์จิเนียเป็นเวลาหนึ่งปี พบว่าหากสัตว์ป่าใช้ทางข้ามแม้เพียงเล็กน้อย (ราว 2.6 ครั้งต่อปี) มูลค่าของทรัพย์สินที่ป้องกันความเสียหายได้ก็จะเกินค่าก่อสร้างแล้ว (Donaldson 2005)

อ้างอิง

  • Bank, F. G. (2002). Wildlife habitat connectivity across European highways (Report). U. S. Department of Transportation: Federal Highway Administration. p. 1-45. สืบค้นเมื่อ 19 July 2012. {{cite report}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  • Donaldson, B. M. (2005). The Use of Highway Underpasses by Large Mammals in Virginia and Factors Influencing their Effectiveness (PDF) (Report). สืบค้นเมื่อ 20 July 2012. {{cite report}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)