ทางข้ามสัตว์ป่า
บทความนี้มีเนื้อหาที่สั้นมาก ต้องการเพิ่มเติมเนื้อหาหรือพิจารณารวมเข้ากับบทความอื่นแทน
ทางข้ามสัตว์ป่า เป็นทางเชื่อมต่อถิ่นที่อยู่ของสัตว์ป่า ช่วยให้สัตว์ป่าสามารถข้ามถนนได้อย่างปลอดภัย ทางข้ามดังกล่าวอาจเป็นสะพานข้าม อุโมงค์ลอด ท่อ หรือบันไดปลา ทางข้ามสัตว์ป่าเป็นทางหนึ่งในการอนุรักษ์ถิ่นที่อยู่ของสัตว์ป่า โดยการเชื่อมถิ่นที่อยู่ของสัตว์ป่าที่เคยถูกตัดขาดด้วยทางหลวง นอกจากนี้ยังช่วยลดอุบัติเหตุรถกับสัตว์ชนกัน
การศึกษาหนึ่งประเมินว่าการมีทางข้ามดังกล่าวเพิ่มขึ้นในโครงการสร้างทางหลวง จะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นเพียง 7-8% Bank et al. 2002
สำนักขนส่งเวอร์จิเนียทำการวิจัยที่ทางข้ามสัตว์ป่าต่างๆ ในเวอร์จิเนียเป็นเวลาหนึ่งปี พบว่าหากสัตว์ป่าใช้ทางข้ามแม้เพียงเล็กน้อย (ราว 2.6 ครั้งต่อปี) มูลค่าของทรัพย์สินที่ป้องกันความเสียหายได้ก็จะเกินค่าก่อสร้างแล้ว Donaldson 2005
อ้างอิง[แก้]
- Bank, F. G. (2002). Wildlife habitat connectivity across European highways (Report). U. S. Department of Transportation: Federal Highway Administration. p. 1-45. สืบค้นเมื่อ 19 July 2012.
{{cite report}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) (help) - Donaldson, B. M. (2005). The Use of Highway Underpasses by Large Mammals in Virginia and Factors Influencing their Effectiveness (PDF) (Report). สืบค้นเมื่อ 20 July 2012.
{{cite report}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help)
![]() |
บทความนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล หมายเหตุ: ขอแนะนำให้จัดหมวดหมู่โครงให้เข้ากับเนื้อหาของบทความ (ดูเพิ่มที่ วิกิพีเดีย:โครงการจัดหมวดหมู่โครงที่ยังไม่สมบูรณ์) |