ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต เพิ่ม: sh:Svilarstvo
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม''' หรือ '''การเลี้ยงไหม''' เป็น[[เกษตรกรรม|การเกษตร]]ที่ผสมระหว่างการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ การปลูกต้น[[หม่อน]] สำหรับใช้เลี้ยง[[ตัวไหม]] (โดยเฉพาะชนิด ''Bombyx mori'') เพื่อจะนำตัวไหมมา[[การสาวไหม|สาว]] และได้เส้นใยเรียกว่า[[ไหม|เส้นไหม]] นั่นเอง
'''การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม''' หรือ '''การเลี้ยงไหม''' เป็น[[เกษตรกรรม|การเกษตร]]ที่ผสมระหว่างการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ การปลูกต้น[[หม่อน]] สำหรับใช้เลี้ยง[[ตัวไหม]] (โดยเฉพาะชนิด ''Bombyx mori'') เพื่อจะนำตัวไหมมา[[การสาวไหม|สาว]] และได้เส้นใยเรียกว่า[[ไหม|เส้นไหม]] นั่นเอง


ประวัติการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมกล่าวไว้ในคัมภีร์[[ขงจื้อ]] ว่า มีการสาวไหมจาก หนอนไหม ''B. mori'' ตั้งแต่ราว 2,700 ปีก่อนคริสตกาล แต่หลักฐานทางโบราณคดีบ่งชี้ว่าการเลี้ยงไหมนั้น เก่าแก่สุดในราวยุคหย่างเสา ( 仰韶文化, ยุคหินใหม่ ราว 5,000 - 10,000 ปีก่อนคริสตกาล)<ref> Patricia Buckley Ebrey. 2005. ''China: A Cultural, Social and Political History''. Wadsworth Publishing. P.7. ISBN 0-618-13387-9.</ref>. ต่อมาได้นำไหมไปยังยุโรป เมดิเตอเรเนียน และประเทศอื่นๆ ในทวีปเอเชีย การปลูกหม่อนเลี้ยงไหมกลายเป็น[[อุตสาหกรรมในครัวเรือน]]ที่สำคัญในหลายประเทศ เช่น จีน, เกาหลีใต้, ญี่ปุ่น, อินเดีย, บราซิล, รัสเซีย, อิตาลี และฝรั่งเศส ปัจจุบันนี้จีนและญี่ปุ่นเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ โดยมีปริมาณการผลิตต่อปีรวมกันมากกว่า 50% ของการผลิตทั่วโลก
ประวัติการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมกล่าวไว้ในคัมภีร์[[ขงจื้อ]] ว่า มีการสาวไหมจาก หนอนไหม ''B. mori'' ตั้งแต่ราว 2,700 ปีก่อนคริสตกาล แต่หลักฐานทางโบราณคดีบ่งชี้ว่าการเลี้ยงไหมนั้น เก่าแก่สุดในราวยุคหย่างเสา ( 仰韶文化, ยุคหินใหม่ ราว 5,000 - 10,000 ปีก่อนคริสตกาล)<ref> Patricia Buckley Ebrey. 2005. ''China: A Cultural, Social and Political History''. Wadsworth Publishing. P.7. ISBN 0-618-13387-9.</ref>. ต่อมาได้นำไหมไปยังยุโรป เมดิเตอเรเนียน และประเทศอื่นๆ ในทวีปเอเชีย การปลูกหม่อนเลี้ยงไหมกลายเป็น[[อุตสาหกรรมในครัวเรือน]]ที่สำคัญในหลายประเทศ เช่น จีน, เกาหลีใต้, ญี่ปุ่น, อินเดีย, บราซิล, รัสเซีย, อิตาลี และฝรั่งเศส ปัจจุบันนี้จีนและญี่ปุ่นเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ โดยมีปริมาณการผลิตต่อปีรวมกันมากกว่า 50% ของการผลิตทั่วโลก


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:39, 30 มกราคม 2556

การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม หรือ การเลี้ยงไหม เป็นการเกษตรที่ผสมระหว่างการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ การปลูกต้นหม่อน สำหรับใช้เลี้ยงตัวไหม (โดยเฉพาะชนิด Bombyx mori) เพื่อจะนำตัวไหมมาสาว และได้เส้นใยเรียกว่าเส้นไหม นั่นเอง

ประวัติการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมกล่าวไว้ในคัมภีร์ขงจื้อ ว่า มีการสาวไหมจาก หนอนไหม B. mori ตั้งแต่ราว 2,700 ปีก่อนคริสตกาล แต่หลักฐานทางโบราณคดีบ่งชี้ว่าการเลี้ยงไหมนั้น เก่าแก่สุดในราวยุคหย่างเสา ( 仰韶文化, ยุคหินใหม่ ราว 5,000 - 10,000 ปีก่อนคริสตกาล)[1]. ต่อมาได้นำไหมไปยังยุโรป เมดิเตอเรเนียน และประเทศอื่นๆ ในทวีปเอเชีย การปลูกหม่อนเลี้ยงไหมกลายเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือนที่สำคัญในหลายประเทศ เช่น จีน, เกาหลีใต้, ญี่ปุ่น, อินเดีย, บราซิล, รัสเซีย, อิตาลี และฝรั่งเศส ปัจจุบันนี้จีนและญี่ปุ่นเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ โดยมีปริมาณการผลิตต่อปีรวมกันมากกว่า 50% ของการผลิตทั่วโลก

อ้างอิง

  1. Patricia Buckley Ebrey. 2005. China: A Cultural, Social and Political History. Wadsworth Publishing. P.7. ISBN 0-618-13387-9.