ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: tr:2012 Arakan Bölgesi ayaklanmaları
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555''' เป็นความขัดแย้งระหว่างมุสลิม[[โรฮิงยา]]กับ[[ยะไข่|ชนยะไข่]]ทางเหนือของ[[รัฐยะไข่]] [[ประเทศพม่า]] เหตุจลาจลนี้เกิดขึ้นหลังการพิพาททางศาสนานานหลายสัปดาห์ สาเหตุโดยตรงของเหตุจลาจลครั้งนี้ยังไม่เป็นที่ทราบ ขณะที่นักวิจารณ์หลายคนอ้างว่า การสังหารมุสลิมพม่าสิบคนโดยชนยะไข่ หลังการข่มขืนและสังหารสตรียะไข่ว่าเป็นสาเหตุหลัก รัฐบาลสนองโดยกำหนด[[เคอร์ฟิว]]และจัดวางกำลังทหารในพื้นที่ วันที่ 10 มิถุนายน มีการประกาศ[[สถานการณ์ฉุกเฉิน]] และให้ทหารเข้ามามีส่วนในการบริหารพื้นที่<ref>{{cite web | url=http://burma.irrawaddy.org/archives/11901 | title=အေရးေပၚအေျခအေန ေၾကညာခ်က္ ႏုိင္ငံေရးသမားမ်ား ေထာက္ခံ | publisher=The Irrawaddy | date=June 11, 2012 | accessdate=June 11, 2012 | author=Linn Htet}}</ref><ref>{{Cite news
'''เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555''' เป็นชุดข้อพิพาทที่ดำลังดำเนินอยู่ระหว่างชาติพันธุ์[[ชาวยะไข่|ยะไข่]]พุทธและมุสลิม[[โรฮิงยา]]ทางตอนเหนือของ[[รัฐยะไข่]] [[ประเทศพม่า]] แต่เมื่อถึงเดือนตุลาคม มุสลิมทุกชาติพันธุ์เริ่มตกเป็นเป้า เหตุจลาจลเกิดขึ้นหลังข้อพิพาททางศาสนาหลายสัปดาห์และถูกประณามโดยประชาชนทั้งสองฝ่ายของข้อพิพาทส่วนใหญ่ สาเหตุของเหตุจลาจลที่ใกล้ชิดยังไม่ชัดเจน ขณะที่นักวิจารณ์หลายคนอ้างว่า เหตุชาติพันธุ์ยะไข่สังหารมุสลิมพม่าสิบคนหลังการข่มขืนและฆ่าสตรีชาวยะไข่เป็นสาเหตุหลัก รัฐบาลพม่าสนองโดยกำหนด[[การห้ามออกจากเคหสถานเวลาค่ำคืน]] และวางกำลังทหารในพื้นที่ วันที่ 10 มิถุนายน มีการประกาศ[[สถานการณ์ฉุกเฉิน]]ในรัฐยะไข่ ซึ่งอนุญาตให้ทหารเข้ามาปกครองพื้นที่ ถึงวันที่ 22 สิงหาคม ตัวเลขผู้เสียชีวิตอย่างเป็นทางการอยู่ที่ 88 คน เป็นมุสลิม 57 คน และชาวพุทธ 31 คน ประเมินว่ามีประชาชน 90,000 คนพลัดถิ่นจากความรุนแรงดังกล่าว มีบ้านเรือนถูกเผาราว 2,528 หลัง จำนวนนี้ 1,336 หลังเป็นของชาวโรฮิงยา และ 1,192 หลังเป็นของชาวยะไข่ กองทัพและตำวจพม่าถูกกล่าวหาว่ามีบทบาทนำในการจับกุมหมู่และความรุนแรงตามอำเภอใจต่อชาวโรฮิงยา
| first = Fergal
| last = Keane
| authorlink = Fergal Keane
| title = Old tensions bubble in Burma
| url = http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-18402678
| publisher = [[BBC News Online]]
| date = June 11, 2012
| accessdate = 2012-06-11
| quote =
}}</ref> เมื่อถึงวันที่ 14 มิถุนายน มีผู้เสียชีวิตแล้ว 29 ศพ เป็นมุสลิม 16 ศพ และพุทธศาสนิกชน 13 ศพ<ref name=displaced>{{cite news|title=Burma unrest: Rakhine violence 'displaces 30,000'|work=BBC News|date=June 14, 2012|url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-18449264|accessdate=June 14, 2012}}</ref> มีการประเมินว่า เหตุความรุนแรงดังกล่าวทำให้ประชาชนต้องออกจากบ้าน 30,000 คน<ref name=displaced /> มีบ้านเรือนราว 2,528 หลังคาเรือน ถูกเผา ในจำนวนนี้ 1,366 หลังคาเรือนเป็นของชาวโรฮิงยา และอีก 1,192 หลังคาเรือนเป็นของชนยะไข่<ref>{{cite news| url=http://www.google.com/hostednews/ap/article/ALeqM5iNgy-B1h5qAfy0mlidJESbqDF6aA?docId=88ce24b723ee4aeb87f960a9a1eb4129 | title=Both ethnic groups suffered in Myanmar clashes | agency=Associated Press | date=Jun 15, 2012 | accessdate=June 16, 2012}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:14, 28 ตุลาคม 2555

เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555 เป็นชุดข้อพิพาทที่ดำลังดำเนินอยู่ระหว่างชาติพันธุ์ยะไข่พุทธและมุสลิมโรฮิงยาทางตอนเหนือของรัฐยะไข่ ประเทศพม่า แต่เมื่อถึงเดือนตุลาคม มุสลิมทุกชาติพันธุ์เริ่มตกเป็นเป้า เหตุจลาจลเกิดขึ้นหลังข้อพิพาททางศาสนาหลายสัปดาห์และถูกประณามโดยประชาชนทั้งสองฝ่ายของข้อพิพาทส่วนใหญ่ สาเหตุของเหตุจลาจลที่ใกล้ชิดยังไม่ชัดเจน ขณะที่นักวิจารณ์หลายคนอ้างว่า เหตุชาติพันธุ์ยะไข่สังหารมุสลิมพม่าสิบคนหลังการข่มขืนและฆ่าสตรีชาวยะไข่เป็นสาเหตุหลัก รัฐบาลพม่าสนองโดยกำหนดการห้ามออกจากเคหสถานเวลาค่ำคืน และวางกำลังทหารในพื้นที่ วันที่ 10 มิถุนายน มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในรัฐยะไข่ ซึ่งอนุญาตให้ทหารเข้ามาปกครองพื้นที่ ถึงวันที่ 22 สิงหาคม ตัวเลขผู้เสียชีวิตอย่างเป็นทางการอยู่ที่ 88 คน เป็นมุสลิม 57 คน และชาวพุทธ 31 คน ประเมินว่ามีประชาชน 90,000 คนพลัดถิ่นจากความรุนแรงดังกล่าว มีบ้านเรือนถูกเผาราว 2,528 หลัง จำนวนนี้ 1,336 หลังเป็นของชาวโรฮิงยา และ 1,192 หลังเป็นของชาวยะไข่ กองทัพและตำวจพม่าถูกกล่าวหาว่ามีบทบาทนำในการจับกุมหมู่และความรุนแรงตามอำเภอใจต่อชาวโรฮิงยา

อ้างอิง