ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความหิว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JackieBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: ml:വിശപ്പ്
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: hi:भूख
บรรทัด 36: บรรทัด 36:
[[gl:Fame]]
[[gl:Fame]]
[[he:רעב]]
[[he:רעב]]
[[hi:भूख]]
[[hr:Glad]]
[[hr:Glad]]
[[ht:Grangou]]
[[ht:Grangou]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:51, 19 สิงหาคม 2555

ความหิว เป็นลักษณะอาการของการแสดงออกตามความต้องการของร่างกาย เป็นไปอย่างอัตโนมัติเพื่อแสดงออก ถึงความต้องการอาหารประจำมื้อ โดยเกิดจากการหลั่งเอนไซม์ ให้สมองสั่งการให้รู้ว่า ถึงเวลาที่ควรจะรับประทานอาหารแล้ว[ต้องการอ้างอิง]

ลักษณะและการแสดงออก

เมื่อกระเพาะอาหารมีการเริ่มหลั่งเอนไซ่ม์เพื่อเคลือบกระเพราะอาหารแล้วนั้นจะเกิดการสั่งการไปยังสมองเพื่อให้รู้ถึงความพร้อมในการย่อยอาหาร เมือสมองได้รับข้อมูลแล้วจะทำการส่งคำสั่งออกไปยัง ส่วนควบคุมด้านพฤติกรรมและการดำเนินการอัตโนมัติ เพื่อให้ร่างกายรับประทานอาหาร หากไม่มีการรับประทานอาหารไปนั้นจะทำให้เกิดความเสี่ยงในการควบคุมกรดและน้ำย่อยในกระเพาะทำให้เกิดการกัดกร่อน สารเคลือบที่ป้องกันเนื้อเยื่อให้บางลงจนถึงชั้นเนื้อเยื่ออ่อน ทำให้เกิดอาหารแสบร้อนและมีความเสี่ยงในการก่อของโรคกระเพาะขึ้นได้

สุขอนามัยและการรักษา

ในการรักษาความหิวนั้นจึงควรรับประทานอาหารให้พอเพียง แต่ไม่เกิดความหิวซึ่งเป็นวิธีที่ดีที่สุด ควรรับประทานไปเรื่อยไม่รีบร้อนเพื่อลดความอยากอาหาร ซึ่งเป็นวิธีที่ดีที่สุด หากไม่สามารถรับประทานอาหารได้ ควรหาน้ำหรืออาหารที่สามารถย่อยได้อย่างรวดเร็วรับประทานไปเรื่อยจนความอยากอาหารลดลง หากมีอาการปวดแสบหลังรับประทานอาหารควรไปพบแพทย์ทันที

ความหมายอื่นๆ

โดยปกติแล้วคำว่าความหิวหลัก ๆ จะใช้กับอาการอยากอาหาร แต่ในด้านการใช้ภาษาสามารถใช้เป็นคำแสลงได้ ตัวอย่าง เช่น หิวเงิน (หมายถึงอาการที่อยากได้เงินจนเกินความพอดี) เป็นต้น

รายการอ้างอิง

หมอชาวบ้าน เล่มที่ 41 ปี 2542 คอลัมน์ สุขภาพกาย

รายการเพิ่มเติม