ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การป่าไม้"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: eu:Basotze
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
[[es:Ingeniería de montes]]
[[es:Ingeniería de montes]]
[[et:Metsandus]]
[[et:Metsandus]]
[[eu:Basotze]]
[[fa:جنگل‌داری]]
[[fa:جنگل‌داری]]
[[fi:Metsätalous]]
[[fi:Metsätalous]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:20, 8 กรกฎาคม 2555

สภาพป่าดิบชื้น

การป่าไม้ หรือ วนศาสตร์ หมายถึง ศาสตร์ ศิลป์ และการปฏิบัติว่าด้วยการศึกษาและจัดการป่าไม้ พื้นที่เพาะปลูก และทรัพยากรธรรมชาติที่เกี่ยวข้อง โดยมีสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องได้แก่ การจัดการทรัพยากรป่าไม้ วิทยาศาสตร์ชีวภาพป่าไม้ เช่น ชีววิทยาป่าไม้ วนวัฒนวิทยา วิทยาศาสตร์สัตว์ป่าและทุ่งหญ้า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางไม้ หรือวนผลิตภัณฑ์เป็นต้น

นิเวศวิทยาป่าไม้ถูกมองว่าเป็นหนึ่งในองค์ประกอบสำคัญของชีวภูมิ (biosphere) และการป่าไม้ได้กลายมาเป็นสาขาที่ขาดไม่ได้ในวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ศิลป์ และเทคโนโลยี

การป่าไม้ในประเทศไทย

การป่าไม้ในประเทศไทย เริ่มตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 โดยทรงสถาปนากรมป่าไม้ เมื่อ 18 กันยายน พ.ศ. 2439[1] โดยจ้างผู้เชี่ยวชาญด้านการป่าไม้ชาวอังกฤษชื่อนาย เอ็ช. สเลด เป็นอธิบดีคนแรก

การศึกษาด้านวิชาการป่าไม้หรือวนศาสตร์ในประเทศไทย เริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2479 โดยการจัดตั้งโรงเรียนป่าไม้จังหวัดแพร่ ต่อมาเมื่อได้มีการสถาปนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เมื่อ พ.ศ. 2486 จึงได้ยกฐานะเป็นวิทยาลัยวนศาสตร์และเปลี่ยนมาเป็นคณะวนศาสตร์ในปัจจุบัน

อ้างอิง

  1. ประวัติกรมป่าไม้, เรียกดู 24 สิงหาคม 2550 [ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น