ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สรรพเทวนิยม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''สรรพเทวนิยม''' ({{lang-en|Pantheism}}) เป็นแนวคิดซึ่งเชื่อว่า[[เอกภพ]] ([[ธรรมชาติ]]) กับ[[พระเจ้า]]นั้นเป็นสิ่งเดียวกัน<ref>{{Cite book | title = The New Oxford Dictionary Of English | publisher = Clarendon Press | edition = | date = 1998 | location = Oxford | pages = 1341 | doi = | id = | isbn = 0-19-861263-X | mr = | zbl = | jfm = }}</ref> ดังนั้นผู้ที่เชื่อในสรรพเทวนิยมจึงไม่เชื่อในแนวคิดพระเจ้าที่เป็นตัวบุคคล มานุษยรูปนิยม หรือพระผู้สร้าง สรรพเทวนิยมยังได้แสดงแนวคิดที่ว่า "พระเจ้า" นั้นควรถูกมองในวิถีทางที่เกี่ยวข้องกับเอกภพจึงจะดีที่สุด<ref name="Deity">Owen, H. P. ''Concepts of Deity''. London: Macmillan, 1971.</ref> แม้ว่าจะมีความแตกต่างในสรรพเทวนิยมอยู่บ้าง แนวคิดหลักที่พบได้ในเกือบทุกแบบคือจักรวาลในฐานะที่รวบรวมเอกภาพและความศักดิ์สิทธิ์ของธรรมชาติ
'''สรรพเทวนิยม''' ({{lang-en|Pantheism}}) เป็นแนวคิดซึ่งเชื่อว่า[[เอกภพ]] ([[ธรรมชาติ]]) กับ[[พระเจ้า]]นั้นเป็นสิ่งเดียวกัน<ref>{{Cite book | title = The New Oxford Dictionary Of English | publisher = Clarendon Press | edition = | date = 1998 | location = Oxford | pages = 1341 | doi = | id = | isbn = 0-19-861263-X | mr = | zbl = | jfm = }}</ref> ดังนั้นผู้ที่เชื่อในสรรพเทวนิยมจึงไม่เชื่อในแนวคิดพระเจ้าที่เป็นตัวบุคคล มานุษยรูปนิยม (anthropomorphism) หรือพระผู้สร้าง สรรพเทวนิยมยังได้แสดงแนวคิดที่ว่า "พระเจ้า" นั้นควรถูกมองในวิถีทางที่เกี่ยวข้องกับเอกภพจึงจะดีที่สุด<ref name="Deity">Owen, H. P. ''Concepts of Deity''. London: Macmillan, 1971.</ref> แม้ว่าจะมีความแตกต่างในสรรพเทวนิยมอยู่บ้าง แนวคิดหลักที่พบได้ในเกือบทุกแบบคือจักรวาลในฐานะที่รวบรวมเอกภาพและความศักดิ์สิทธิ์ของธรรมชาติ


ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 สรรพเทวนิยมได้รับการฟื้นคืนอีกครั้ง<ref name="ReferenceA">Paul Harrison, Elements of Pantheism, 1999</ref> และได้รับการป่าวประกาศจากความตระหนักเกี่ยวกับระบบนิเวศที่เพิ่มมากขึ้นในสังคมและสื่อ สรรพเทวนิยมมักถูกประกาศว่าเป็น "เทววิทยา" เบื้องหลังของลัทธิ[[เพกัน]]<ref>Margot Adler, Drawing Down the Moon, Beacon Press, 1986</ref> ในปี พ.ศ. 2518 เป็นปีก่อตั้งสมาคมสรรพเทวนิยมสากล อย่างไรก็ตามกลุ่มดังกล่าวยังคงมีขนาดเล็กมาก การก่อตั้งขบวนการสรรพเทวนิยมโลกอันมีลักษณะธรรมชาตินิยมในปี พ.ศ. 2542 โดยมีจดหมายกลุ่มและเครือข่ายสังคมมาก ทำให้กลุ่มได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางกว่ามาก
ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 สรรพเทวนิยมได้รับการฟื้นคืนอีกครั้ง<ref name="ReferenceA">Paul Harrison, Elements of Pantheism, 1999</ref> และได้รับการป่าวประกาศจากความตระหนักเกี่ยวกับระบบนิเวศที่เพิ่มมากขึ้นในสังคมและสื่อ สรรพเทวนิยมมักถูกประกาศว่าเป็น "เทววิทยา" เบื้องหลังของลัทธิ[[เพกัน]]<ref>Margot Adler, Drawing Down the Moon, Beacon Press, 1986</ref> ในปี พ.ศ. 2518 เป็นปีก่อตั้งสมาคมสรรพเทวนิยมสากล อย่างไรก็ตามกลุ่มดังกล่าวยังคงมีขนาดเล็กมาก การก่อตั้งขบวนการสรรพเทวนิยมโลกอันมีลักษณะธรรมชาตินิยมในปี พ.ศ. 2542 โดยมีจดหมายกลุ่มและเครือข่ายสังคมมาก ทำให้กลุ่มได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางกว่ามาก

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:32, 10 พฤษภาคม 2555

สรรพเทวนิยม (อังกฤษ: Pantheism) เป็นแนวคิดซึ่งเชื่อว่าเอกภพ (ธรรมชาติ) กับพระเจ้านั้นเป็นสิ่งเดียวกัน[1] ดังนั้นผู้ที่เชื่อในสรรพเทวนิยมจึงไม่เชื่อในแนวคิดพระเจ้าที่เป็นตัวบุคคล มานุษยรูปนิยม (anthropomorphism) หรือพระผู้สร้าง สรรพเทวนิยมยังได้แสดงแนวคิดที่ว่า "พระเจ้า" นั้นควรถูกมองในวิถีทางที่เกี่ยวข้องกับเอกภพจึงจะดีที่สุด[2] แม้ว่าจะมีความแตกต่างในสรรพเทวนิยมอยู่บ้าง แนวคิดหลักที่พบได้ในเกือบทุกแบบคือจักรวาลในฐานะที่รวบรวมเอกภาพและความศักดิ์สิทธิ์ของธรรมชาติ

ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 สรรพเทวนิยมได้รับการฟื้นคืนอีกครั้ง[3] และได้รับการป่าวประกาศจากความตระหนักเกี่ยวกับระบบนิเวศที่เพิ่มมากขึ้นในสังคมและสื่อ สรรพเทวนิยมมักถูกประกาศว่าเป็น "เทววิทยา" เบื้องหลังของลัทธิเพกัน[4] ในปี พ.ศ. 2518 เป็นปีก่อตั้งสมาคมสรรพเทวนิยมสากล อย่างไรก็ตามกลุ่มดังกล่าวยังคงมีขนาดเล็กมาก การก่อตั้งขบวนการสรรพเทวนิยมโลกอันมีลักษณะธรรมชาตินิยมในปี พ.ศ. 2542 โดยมีจดหมายกลุ่มและเครือข่ายสังคมมาก ทำให้กลุ่มได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางกว่ามาก

เดอะก็อดดีลูชันของริชาร์ด ดอว์คินส์ ได้ทำให้สรรพเทวธรรมชาตินิยมได้รับความเชื่อถือมากยิ่งขึ้นในหมู่ผู้ที่เชื่อว่าไม่มีพระเจ้า โดยอธิบายสรรพเทวนิยมว่า "อเทวนิยมที่น่าสนใจขึ้น"[5] สันตะสำนักได้รับรองความสำคัญของสรรพเทวนิยมยิ่งขึ้นในสารพระสันตปาปาในปี พ.ศ. 2552[6] และแถลงการณ์วันขึ้นปีใหม่เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2553 ซึ่งวิจารณ์สรรพเทวนิยมที่ปฏิเสธว่ามนุษย์เหนือว่าธรรมชาติ และ "เห็นแหล่งการไถ่บาปของมนุษย์ในธรรมชาติ"[6]

สรรพเทวนิยมแตกต่างจากสากลเทวนิยม (panentheism) ซึ่งเชื่อว่าพระเจ้าปรากฏอยู่ทุกหนแห่งในจักรวาลและในทางทฤษฎีแล้วมีอยู่ "นอกเหนือจาก" หรือ "พ้น" จักรวาลในฐานะผู้สร้างและผู้ค้ำจุน[7] ดังนั้น สากลเทวนิยมจึงไม่ใช่อย่างเดียวกับสรรพเทวนิยม ซึ่งพระเจ้ากับจักรวาลนั้นเป็นสิ่งเดียวกัน และไม่มีส่วนใดของพระเจ้าอยู่แยกออกจากจักรวาล[8][9]

อ้างอิง

  1. The New Oxford Dictionary Of English. Oxford: Clarendon Press. 1998. p. 1341. ISBN 0-19-861263-X.
  2. Owen, H. P. Concepts of Deity. London: Macmillan, 1971.
  3. Paul Harrison, Elements of Pantheism, 1999
  4. Margot Adler, Drawing Down the Moon, Beacon Press, 1986
  5. The God Delusion. Boston: Houghton Mifflin. 2006.
  6. 6.0 6.1 Caritas In Veritate, July 7, 2009
  7. John W. Cooper, The Other God of the Philosophers, Baker Academic, 2006, p 27
  8. What is Panentheism?, atheism.about.com. About Agnosticism/Atheism. Retrieved 2 October 2009.
  9. Erwin Fahlbusch, Geoffrey William Bromiley, David B. Barrett (1999). The Encyclopedia of Christianity. Wm. B. Eerdmans Publishing. p. 21. ISBN 0802824161.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)