ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลีเบิสไลท์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ครีสเลอร์" → "ไครสเลอร์" ด้วยสจห.
Fernet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:

{{สั้นมาก}}
{{สั้นมาก}}
'''Liebesleid''' ({{lang-en|Love's Sorrow}}) เป็นงานประพันธ์ดนตรีสำหรับบรรเลงด้วย[[ไวโอลิน]]และ[[เปียโน]] ผลงานของ[[ฟริตซ์ ไครสเลอร์]] <ref>http://www.classicalarchives.com/work/44544.html</ref> นักไวโอลินชาวอเมริกันเชื้อสาย[[ออสเตรีย]] (ค.ศ. 1875 - ค.ศ. 1962) ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1910 ผลงานชิ้นนี้เป็นหนึ่งในสองผลงานบรรเลงเดี่ยวที่มีชื่อเสียงที่สุดของไครสเลอร์ คู่กับ ''[[Liebesfreud]]'' (Love's Joy) ที่ออกเผยแพร่ในเวลาใกล้เคียงกัน โดยชิ้นนี้บรรยายถึงความทุกข์ที่เกิดจากความรักที่ไม่สมหวัง
'''Liebesleid''' ({{lang-en|Love's Sorrow}}) เป็นงานประพันธ์ดนตรีสำหรับบรรเลงด้วย[[ไวโอลิน]]และ[[เปียโน]] ผลงานของ[[ฟริตซ์ ไครสเลอร์]] <ref>http://www.classicalarchives.com/work/44544.html</ref> นักไวโอลินชาวอเมริกันเชื้อสาย[[ออสเตรีย]] (ค.ศ. 1875 - ค.ศ. 1962) ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1910 ผลงานชิ้นนี้เป็นหนึ่งในสองผลงานบรรเลงเดี่ยวที่มีชื่อเสียงที่สุดของไครสเลอร์ คู่กับ ''[[Liebesfreud]]'' (Love's Joy) ที่ออกเผยแพร่ในเวลาใกล้เคียงกัน โดยชิ้นนี้บรรยายถึงความทุกข์ที่เกิดจากความรักที่ไม่สมหวัง
บรรทัด 12: บรรทัด 13:


[[ja:愛の悲しみ]]
[[ja:愛の悲しみ]]
[[en:Liebesleid]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:23, 3 พฤษภาคม 2555

Liebesleid (อังกฤษ: Love's Sorrow) เป็นงานประพันธ์ดนตรีสำหรับบรรเลงด้วยไวโอลินและเปียโน ผลงานของฟริตซ์ ไครสเลอร์ [1] นักไวโอลินชาวอเมริกันเชื้อสายออสเตรีย (ค.ศ. 1875 - ค.ศ. 1962) ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1910 ผลงานชิ้นนี้เป็นหนึ่งในสองผลงานบรรเลงเดี่ยวที่มีชื่อเสียงที่สุดของไครสเลอร์ คู่กับ Liebesfreud (Love's Joy) ที่ออกเผยแพร่ในเวลาใกล้เคียงกัน โดยชิ้นนี้บรรยายถึงความทุกข์ที่เกิดจากความรักที่ไม่สมหวัง

ไครสเลอร์เผยแพร่เพลงนี้พร้อมกับอีกสามเพลง คือ Schön Rosmarin, Liebesfreud และ Caprice Viennois โดยอ้างว่าสามชิ้นแรกเป็นผลงานเพลงวอลท์ซที่เพิ่งค้นพบของโจเซฟ แลนเนอร์ (ค.ศ. 1801 - ค.ศ. 1843) คีตกวีชาวออสเตรียผู้ล่วงลับ ส่วน Caprice Viennois นั้นเขาเป็นผู้แต่งเอง แต่แล้วความจริงก็เปิดเผยใน 25 ปีต่อมาเมื่อโอลิน ดาวน์ส นักวิจารณ์ดนตรีของหนังสือพิมพ์นิวยอร์กโพสต์ ส่งโทรเลขอวยพรวันเกิดครบรอบ 60 ปีของไครสเลอร์ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1935 โดยแกล้งถามว่าดนตรีที่ไครสเลอร์อ้างว่าเป็นผลงานเก่าที่ถูกค้นพบนั้น จริงๆ แล้วเขาเป็นคนแต่งเองหรือไม่ ปรากฏว่าไครสเลอร์กลับยอมรับเขาเป็นผู้แต่งเพลงเหล่านั้นจริง [2]

อ้างอิง