ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิวริตัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ripchip Bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต แก้ไข: ar:تطهيرية
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: nn:Puritanisme; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
<references />
<references />


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
*[[เทววิทยาคริสเตียน]]
*[[เทววิทยาคริสเตียน]]
*[[คริสตจักรแห่งอังกฤษ]]
*[[คริสตจักรแห่งอังกฤษ]]
บรรทัด 24: บรรทัด 24:


{{เรียงลำดับ|พิวริตัน}}
{{เรียงลำดับ|พิวริตัน}}
{{โครงศาสนา}}

[[หมวดหมู่:นิกายในศาสนาคริสต์]]
[[หมวดหมู่:นิกายในศาสนาคริสต์]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์อังกฤษ]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์อังกฤษ]]
{{โครงศาสนา}}


[[ar:تطهيرية]]
[[ar:تطهيرية]]
บรรทัด 59: บรรทัด 60:
[[lt:Puritonai]]
[[lt:Puritonai]]
[[nl:Puritein]]
[[nl:Puritein]]
[[nn:Puritanisme]]
[[no:Puritanisme]]
[[no:Puritanisme]]
[[pl:Purytanizm]]
[[pl:Purytanizm]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:14, 25 ธันวาคม 2554

ระเบียงภาพนักเทววิทยาคริสเตียนพิวริตันจากคริสต์ศตวรรษที่ 17: ทอมัส โกจ (Thomas Gouge), วิลเลียม บริดจ์ (William Bridge), ทอมัส แมนตัน (Thomas Manton), จอห์น ฟลาเวล (John Flavel), ริชาร์ด ซิบบส์ (Richard Sibbes), สตีเฟน ชาร์น็อค (Stephen Charnock), วิลเลียม เบทส์ (William Bates), จอห์น โอเว็น (John Owen), จอห์น เฮาว์ (John Howe) และ ริชาร์ด แบ็กซ์เตอร์ (Richard Baxter)

พิวริตัน[1] (อังกฤษ: Puritan) จาก คริสต์ศตวรรษที่ 16 และ คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นคำที่ใช้เรียกกลุ่มคริสต์ศาสนิกชนที่สนับสนุนความเชื่อทางปรัชญาและการกระทำพิธีทางศาสนาที่ “บริสุทธิ์” (“Purity”) กว่า และความเคร่งครัดส่วนบุคคล กลุ่มพิวริตันเชื่อว่าการปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ (English Reformation) ยังไม่พอเพียงและคริสตจักรแห่งอังกฤษยังทำพิธีศาสนาที่ไม่ต่างไปจากพิธีศาสนาของศาสนจักรโรมันคาทอลิกเท่าใดนัก คำว่า “พิวริตัน” เป็นคำที่ใช้เรียกแทนคำว่า “คาร์ธาร์” ที่ใช้เรียกผู้ที่มีหัวรุนแรงที่เป็นผู้นับถือลัทธิคาร์ธาริสม์ (Catharism) ในฝรั่งเศส บางครั้งกลุ่มเพียวริตันก็ร่วมมือกับคณะเพรสไบทีเรียน (Presbyterian) ในการตั้งข้อเสนอเพื่อที่จะทำให้นิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์ใกล้กับคริสตจักรปฏิรูป (Reformed Churches) บนแผ่นดินใหญ่ยุโรปมากขึ้น


อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, สารานุกรมประเทศในทวีปยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2550, หน้า 209

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น