ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Escarbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.5.5) (โรบอต ลบ: hu:Az emberi szem
Movses-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.2) (โรบอต แก้ไข: nah:Īxtelolotl
บรรทัด 100: บรรทัด 100:
[[mrj:Сӹнзӓ]]
[[mrj:Сӹнзӓ]]
[[ms:Mata]]
[[ms:Mata]]
[[nah:Īxtelolohtli]]
[[nah:Īxtelolotl]]
[[ne:आँखा]]
[[ne:आँखा]]
[[nl:Oog (anatomie)]]
[[nl:Oog (anatomie)]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:15, 23 กรกฎาคม 2554

ม่านตา (iris) คือ ส่วนที่มีสีต่างๆกัน
แผนผังแสดงส่วนต่างๆ ของดวงตาของมนุษย์
หมายเหตุ: ตาของสัตว์ชนิดอื่น อาจไม่คล้ายกับของมนุษย์

ตา คือส่วนรับแสงสะท้อนของร่างกาย ทำให้สามารถมองเห็น และรับรู้สิ่งต่างๆ รอบตัวได้ ตาของสัตว์ต่างๆ มีรูปแบบที่ต่างกันออกไป ไม่ว่าจะเป็นตาของ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, สัตว์ปีก, สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์น้ำ โดยดวงตาของสัตว์ที่พัฒนาแล้ว มักจะมีเพียง 2 ดวง และ อยู่ด้านหน้าของใบหน้า เพื่อการมองเห็นแบบ 3 มิติ

ตา คือ อวัยวะที่ทำหน้าที่รับแสง โดยสัตว์แต่ละชนิดจะมีอวัยวะรับแสงที่แตกต่างกัน ตาที่เรียบง่ายที่สุดจะไม่สามารถทำอะไรได้เลยเว้นแต่การรับรู้ว่าสิ่งแวดล้อมนั้นมืดหรือสว่างเพื่อให้สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้ เช่น กลางวันหรือกลางคืน เป็นต้น แต่จะไม่สามารถรับรู้ออกมาเป็นภาพได้ ตาที่ซับซ้อนกว่าจะมีรูปทรงและสีที่เป็นเอกลักษณ์ ในระบบตาที่ซับซ้อน ตาแต่ละดวงจะสามารถรับภาพที่มีบริเวณที่ซ้อนทับกันได้ เพื่อให้สมองสามารถรับรู้ถึงความลึก หรือ ความเป็นสามมิติของภาพ เช่น ระบบตาของมนุษย์ อย่างไรก็ตาม ตาของสัตว์บางชนิด เช่น กระต่ายและกิ้งก่า ได้ถูกออกแบบมาให้มีส่วนของภาพที่ซ้อนทับกันน้อยที่สุด

แม่แบบ:Link FA