ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมาธิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มหมวดหมู่
Rubinbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.5.4) (โรบอต เพิ่ม: en, nl, no ลบ: th
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
[[da:Samadhi]]
[[da:Samadhi]]
[[de:Samadhi]]
[[de:Samadhi]]
[[en:Samadhi]]
[[es:Samādhi]]
[[es:Samādhi]]
[[fi:Samadhi]]
[[fr:Samadhi]]
[[fr:Samadhi]]
[[he:סמאדהי]]
[[hi:समाधि]]
[[hi:समाधि]]
[[it:Samādhi]]
[[it:Samādhi]]
[[he:סמאדהי]]
[[ja:三昧]]
[[jv:Semedi]]
[[jv:Semedi]]
[[lt:Samadhi]]
[[lt:Samadhi]]
[[mr:समाधी]]
[[mr:समाधी]]
[[nl:Samadhi (boeddhisme)]]
[[ja:三昧]]
[[no:Samadhi (buddhisme)]]
[[pl:Samadhi]]
[[pl:Samadhi]]
[[pt:Samadhi]]
[[pt:Samadhi]]
บรรทัด 31: บรรทัด 35:
[[sk:Samádhi]]
[[sk:Samádhi]]
[[sr:Самади]]
[[sr:Самади]]
[[fi:Samadhi]]
[[sv:Samadhi]]
[[sv:Samadhi]]
[[th:สมาธิ]]
[[tr:Samadhi]]
[[tr:Samadhi]]
[[uk:Самадхі]]
[[uk:Самадхі]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:36, 17 เมษายน 2554

สมาธิ คือการฝึกฝนทางจิตหลากหลายรูปแบบ ซึ่งเป้าหมายคือ ก่อให้เกิดการตระหนักรู้ตนเอง และจิตสำนึกต่อการทำงาน

การทำสมาธิโดยทั่วไปมักเป็นการฝึกหัดส่วนบุคคล ยกเว้นในบางกรณีเช่น การสวดมนต์ ผู้ฝึกสมาธิส่วนใหญ่ มักจดจ่อกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อาจเป็นลมหายใจ การเพ่งวัตถุต่าง ๆ หรือแม้แต่การจดจ่อกับกิจกรรมที่กระทำ การทำสมาธิ มักเกี่ยวกับการปลูกฝังความรู้สึกหรือความเชื่อมั่นภายใน อาจจะเป็นการตั้งเป้าหมาย หรือ อาจจะหมายถึงการเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างเฉพาะเจาะจงก็ได้

รูปแบบการฝึกสมาธินั้นมากมายและมีความหลากหลาย คนทั่วไปอาจจะเข้าใจคำว่า "สมาธิ" ในบริบทที่แตกต่างกัน การทำสมาธินั้นมีมาตั้งแต่โบราณและ การฝึกฝนสืบทอดต่อกันมา จนกลายเป็นองค์ประกอบของประเพณีทางศาสนา ในประเพณีจิตวิญญาณตะวันออก เช่น ศาสนาฮินดู และ พุทธศาสนา แม้ในประเทศแถบตะวันตกบางแห่งก็เช่นกัน

ในปี 2007 การศึกษาของรัฐบาลสหรัฐพบว่าเกือบ 9.4% ของผู้ใหญ่ (มากกว่า 20 ล้านคน) มีการฝึกสมาธิภายใน 12 เดือนที่ผ่านมาเพิ่มขึ้นจาก 7.6% (มากกว่า 15 ล้านคน) ในปี 2002

ตั้งแต่ปี 1960, การทำสมาธิได้รับการเพิ่มจุดเน้นของการวิจัยทางวิทยาศาสตร์