ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยาง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: te:రబ్బరు
Escarbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ca, hr, ml, tr
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
[[ar:مطاط]]
[[ar:مطاط]]
[[bg:Каучук]]
[[bg:Каучук]]
[[ca:Cautxú]]
[[cs:Pryž]]
[[cs:Pryž]]
[[de:Gummi]]
[[de:Gummi]]
บรรทัด 28: บรรทัด 29:
[[gl:Caucho]]
[[gl:Caucho]]
[[he:גומי]]
[[he:גומי]]
[[hr:Guma]]
[[hu:Gumi]]
[[hu:Gumi]]
[[id:Karet]]
[[id:Karet]]
บรรทัด 39: บรรทัด 41:
[[ko:고무]]
[[ko:고무]]
[[lt:Guma]]
[[lt:Guma]]
[[ml:റബ്ബര്‍ മരം]]
[[nah:Ōlli]]
[[nah:Ōlli]]
[[nl:Rubber]]
[[nl:Rubber]]
บรรทัด 56: บรรทัด 59:
[[ta:இயற்கை மீள்மம்]]
[[ta:இயற்கை மீள்மம்]]
[[te:రబ్బరు]]
[[te:రబ్బరు]]
[[tr:Kauçuk]]
[[uk:Гума]]
[[uk:Гума]]
[[ur:ربڑ]]
[[ur:ربڑ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:59, 18 มกราคม 2554

การเก็บน้ำยาง

ยาง คือวัสดุพอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยไฮโดรเจนและคาร์บอน ยางเป็นวัสดุที่มีความยืดหยุ่นสูง ยางที่มีต้นกำเนิดจากธรรมชาติจะมาจากของเหลวของพืชบางชนิด ซึ่งมีลักษณะเป็นของเหลวสีขาว คล้ายน้ำนม มีสมบัติเป็นคอลลอยด์ อนุภาคเล็ก มีตัวกลางเป็นน้ำ ยางในสภาพของเหลวเรียกว่าน้ำยาง ยางที่เกิดจากพืชนี้เรียกว่ายางธรรมชาติ ในขณะเดียวกันมนุษย์สามารถสร้างยางสังเคราะห์ได้จากปิโตรเลียม

การผลิตยางธรรมชาติ

แหล่งผลิตยางธรรมชาติที่ใหญ่ที่สุดในโลกคือ แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้คิดเป็นร้อยละ 90 ของแหล่งผลิตทั้งหมด ส่วนที่เหลือมาจากแอฟริกากลาง[1] ซึ่งพันธุ์ยางที่ผลิตในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือ พันธุ์ฮีเวียบราซิลเลียนซิส (Hevea brasiliensis) น้ำยางที่ได้จากต้นยางมีลักษณะเป็นเม็ดยางเล็ก ๆ กระจายอยู่ในน้ำ (emulsion) มีปริมาณของแข็งประมาณร้อยละ 30-40 การใส่กรดอะซิติกเจือจางลงในน้ำยาง ทำให้น้ำยางจับตัวเป็นก้อน เกิดการแยกชั้นระหว่างเนื้อยางและน้ำ ส่วนน้ำที่ปนอยู่ในยางจะถูกกำจัดออกไปโดยการรีดด้วยลูกกลิ้ง 2 ลูกกลิ้ง วิธีการหลัก ๆ ที่จะทำให้ยางแห้งสนิทมี 2 วิธีคือ การรมควันยาง และการทำยางเครพ แต่เนื่องจากยางผลิตได้มาจากเกษตรกรจากแหล่งที่แตกต่างกัน ทำให้ต้องมีการแบ่งชั้นของยางตามความบริสุทธิ์ของยางนั้น ๆ

อ้างอิง

  1. บุญธรรม นิธิอุทัย, ยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห์และคุณสมบัติ, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2530, หน้า 1-3