ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกาะฮนชู"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: mr:होन्शू
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{กล่องข้อมูล เกาะ
[[ไฟล์:Japan honshu map small.png|250px|thumb|เกาะฮนชู]]
|name = ฮนชู / ฮอนชู
|image name = Japan honshu map small.png
|image caption = แผนที่เกาะฮนชู
|native name = 本州
|native name link =
|location = [[เอเชียตะวันออก]]
|coordinates =
|archipelago = [[หมู่เกาะญี่ปุ่น]]
|area = 227,962.59
|highest mount = [[ภูเขาไฟฟุจิ]]
|elevation = 3,776
|country = {{flagicon|Japan}} [[ประเทศญี่ปุ่น]]
|country admin divisions title = จังหวัด
|country admin divisions = [[จังหวัดฟุกุชิมะ|ฟุกุชิมะ]] · [[จังหวัดมิยะงิ|มิยะงิ]] · [[จังหวัดยะมะงะตะ|ยะมะงะตะ]] · [[จังหวัดอะโอะโมะริ|อะโอะโมะริ]] · [[จังหวัดอะกิตะ|อะกิตะ]] · [[จังหวัดอิวะเตะ|อิวะเตะ]] · [[จังหวัดกุมมะ|กุมมะ]] · [[จังหวัดคะนะงะวะ|คะนะงะวะ]] · [[จังหวัดชิบะ|ชิบะ]] · [[จังหวัดไซตะมะ|ไซตะมะ]] · [[จังหวัดโทะชิงิ|โทะชิงิ]] · [[โตเกียว]] · [[จังหวัดอิบะระกิ|อิบะระกิ]] · [[จังหวัดกิฟุ|กิฟุ]] · [[จังหวัดชิซุโอะกะ|ชิซุโอะกะ]] · [[จังหวัดนะงะโนะ|นะงะโนะ]] · [[จังหวัดนีงะตะ|นีงะตะ]] · [[จังหวัดโทะยะมะ|โทะยะมะ]] · [[จังหวัดฟุกุอิ|ฟุกุอิ]] · [[จังหวัดยะมะนะชิ|ยะมะนะชิ]] · [[จังหวัดอิชิกะวะ|อิชิกะวะ]] · [[จังหวัดไอจิ|ไอจิ]] · [[จังหวัดเคียวโตะ|เคียวโตะ]] · [[จังหวัดชิงะ|ชิงะ]] · [[จังหวัดนะระ|นะระ]] · [[จังหวัดมิเอะ|มิเอะ]] · [[จังหวัดวะกะยะมะ|วะกะยะมะ]] · [[จังหวัดโอซะกะ|โอซะกะ]] · [[จังหวัดเฮียวโงะ|เฮียวโงะ]] · [[จังหวัดชิมะเนะ|ชิมะเนะ]] · [[จังหวัดทตโตะริ|ทตโตะริ]] · [[จังหวัดยะมะงุจิ|ยะมะงุจิ]] · [[จังหวัดโอะกะยะมะ|โอะกะยะมะ]] · [[จังหวัดฮิโระชิมะ|ฮิโระชิมะ]]
|country largest city = [[โตเกียว]]
|country largest city population = 12.8 ล้านคน ในปี 2553
|population = 103 ล้านคน
|population as of = 2548
|density =
|ethnic groups = [[ชาวญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]
}}


'''ฮนชู''' {{ญี่ปุ่น|本州|Honshū}} (สำเนียงญี่ปุ่นอ่านว่า {{audio|Ja-Honshu.ogg|ฮนชู}}) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศญี่ปุ่น คิดเป็นพื้นที่กว่าร้อยละ 60 ของ[[ประเทศญี่ปุ่น]]<ref>'''โลกพิสดาร แดนพิศวง.''' รีดเดอร์ไดเจสต์ : กรุงเทพฯ, 2541.</ref> มีพื้นที่ 227,962.59 ตารางกิโลเมตร ใหญ่กว่า[[เกาะอังกฤษ]]เล็กน้อย มีความยาวประมาณ 1,300 กิโลเมตร ความกว้างตั้งแต่ 50-250 กิโลเมตร มีชายฝั่งติดทะเลยาวกว่า 5,450 กิโลเมตรรอบเกาะ<ref name="Geo">'''Geography of the World.''' Dorling kindersley : London, 2003. ISBN 07513 5769 3</ref> ทางตอนเหนืออยู่ใกล้กับ[[จังหวัดฮกไกโด|เกาะฮกไกโด]] มีช่องแคบมะสึมะรุเป็นเขตกั้น ส่วนทางตะวันตกเฉียงใต้ใกล้กับ[[เกาะชิโกะกุ]]และ[[เกาะคีวชู]]
'''ฮนชู''' {{ญี่ปุ่น|本州|Honshū}} (สำเนียงญี่ปุ่นอ่านว่า {{audio|Ja-Honshu.ogg|ฮนชู}}) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศญี่ปุ่น คิดเป็นพื้นที่กว่าร้อยละ 60 ของ[[ประเทศญี่ปุ่น]]<ref>'''โลกพิสดาร แดนพิศวง.''' รีดเดอร์ไดเจสต์ : กรุงเทพฯ, 2541.</ref> มีพื้นที่ 227,962.59 ตารางกิโลเมตร ใหญ่กว่า[[เกาะอังกฤษ]]เล็กน้อย มีความยาวประมาณ 1,300 กิโลเมตร ความกว้างตั้งแต่ 50-250 กิโลเมตร มีชายฝั่งติดทะเลยาวกว่า 5,450 กิโลเมตรรอบเกาะ<ref name="Geo">'''Geography of the World.''' Dorling kindersley : London, 2003. ISBN 07513 5769 3</ref> ทางตอนเหนืออยู่ใกล้กับ[[จังหวัดฮกไกโด|เกาะฮกไกโด]] มีช่องแคบมะสึมะรุเป็นเขตกั้น ส่วนทางตะวันตกเฉียงใต้ใกล้กับ[[เกาะชิโกะกุ]]และ[[เกาะคีวชู]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:38, 20 เมษายน 2553

ฮนชู / ฮอนชู
แผนที่เกาะฮนชู
ภูมิศาสตร์
ที่ตั้งเอเชียตะวันออก
กลุ่มเกาะหมู่เกาะญี่ปุ่น
จุดสูงสุดภูเขาไฟฟุจิ
การปกครอง
ประชากรศาสตร์
ประชากร103 ล้านคน

ฮนชู ญี่ปุ่น: 本州โรมาจิHonshū (สำเนียงญี่ปุ่นอ่านว่า ฮนชู) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศญี่ปุ่น คิดเป็นพื้นที่กว่าร้อยละ 60 ของประเทศญี่ปุ่น[1] มีพื้นที่ 227,962.59 ตารางกิโลเมตร ใหญ่กว่าเกาะอังกฤษเล็กน้อย มีความยาวประมาณ 1,300 กิโลเมตร ความกว้างตั้งแต่ 50-250 กิโลเมตร มีชายฝั่งติดทะเลยาวกว่า 5,450 กิโลเมตรรอบเกาะ[2] ทางตอนเหนืออยู่ใกล้กับเกาะฮกไกโด มีช่องแคบมะสึมะรุเป็นเขตกั้น ส่วนทางตะวันตกเฉียงใต้ใกล้กับเกาะชิโกะกุและเกาะคีวชู

พื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะฮนชูเป็นที่ราบสูงและภูเขาสูงชัน[2] โดยมีภูเขาที่สูงที่สุดคือภูเขาไฟฟูจิ บนเกาะฮนชูมีพื้นที่ราบทางด้านตะวันออกและทางใต้ ซึ่งเป็นที่ตั้งของเมืองสำคัญของญี่ปุ่นเช่น โตเกียว โยะโกะฮะมะ นะโงะยะ เคียวโตะ โอซะกะ โคเบะ และฮิโระชิมะ ซึ่งเกาะฮนชูมีจำนวนประชากรหนาแน่นเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. โลกพิสดาร แดนพิศวง. รีดเดอร์ไดเจสต์ : กรุงเทพฯ, 2541.
  2. 2.0 2.1 Geography of the World. Dorling kindersley : London, 2003. ISBN 07513 5769 3