ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คราบจุลินทรีย์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต ลบ: no:Plakk
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพ:Mandibulartori02-04-06.jpg|thumb|right|300px|คราบจุลินทรีย์เกาะอยู่ตามซอกเหงือกและฟัน]]
[[ไฟล์:Mandibulartori02-04-06.jpg|thumb|right|300px|คราบจุลินทรีย์เกาะอยู่ตามซอกเหงือกและฟัน]]


'''คราบจุลินทรีย์''' (dental plaque) มีลักษณะเป็นแผ่นฟิล์ม นุ่มๆบางๆ มีสีเหลืองซีดถึงสีขาว และเหนียวติด[[ฟัน]]
'''คราบจุลินทรีย์''' ({{lang-en|dental plaque}}) มีลักษณะเป็นแผ่นฟิล์ม นุ่มๆบางๆ มีสีเหลืองซีดถึงสีขาว และเหนียวติด[[ฟัน]]


การเกิดคราบจุลินทรีย์เริ่มต้นจากการจับของ [[กลัยโคโปรตีน]] (Glycoprotein) ใน[[น้ำลาย]] และ [[จุลินทรีย์]]ต่างๆในช่องปาก
การเกิดคราบจุลินทรีย์เริ่มต้นจากการจับของ [[กลัยโคโปรตีน]] (Glycoprotein) ใน[[น้ำลาย]] และ [[จุลินทรีย์]]ต่างๆในช่องปาก

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:09, 14 กุมภาพันธ์ 2552

คราบจุลินทรีย์เกาะอยู่ตามซอกเหงือกและฟัน

คราบจุลินทรีย์ (อังกฤษ: dental plaque) มีลักษณะเป็นแผ่นฟิล์ม นุ่มๆบางๆ มีสีเหลืองซีดถึงสีขาว และเหนียวติดฟัน

การเกิดคราบจุลินทรีย์เริ่มต้นจากการจับของ กลัยโคโปรตีน (Glycoprotein) ในน้ำลาย และ จุลินทรีย์ต่างๆในช่องปาก คราบจุลินทรีย์ที่ทิ้งไว้นานๆจะมีแคลเซียมมาตกตะกอนและแข็งตัว เรียกว่า หินน้ำลาย(calculus)

จุลินทรีย์หลายชนิดในคราบจุลินทรีย์ใช้น้ำตาลเป็นแหล่งพลังงานและผลิตกรดออกมา กรดเหล่านี้จะไปสลายแคลเซียมและฟอสเฟตของผิวเคลือบฟัน เป็นสาเหตุให้เกิดฟันผุ

เนื่องจากคราบจุลินทรีย์มีความเหนียว จึงไม่สามารถกำจัดออกได้โดยการบ้วนปาก แต่ต้องกำจัดออกด้วยการแปรงฟันและการใช้ไหมขัดฟัน ถ้าไม่กำจัดคราบจุลินทรีย์ออกไปเป็นประจำ จะก่อให้เกิดโรคฟันผุ หรือ โรคเกี่ยวกับเหงือก เช่น โรคปริทันต์อักเสบ